วันศุกร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Perayaan Malam Tahun Baru Masehi, Untuk Apa?


Detik-detik menjelang akhir tahun Masehi semakin terasa. Penjual terompet dari kertas memenuhi trotoar jalan raya menjajakan dagangannya. Kerlap-kerlip lampu di beberapa sudut kota pun menambah semarak suasana. Di beberapa lokasi tertentu, siap-siap digelar perayaan music berbagai macam jenis, ada yang dangdut, pop, rock, bahkan ada yang menanggap wayang semalam suntuk.

Hingar-bingar perayaan tahun baru sangat khas, penuh hura-hura dan aktivitas tak berguna yang hanya sekedar untuk ‘having fun’. Pernahkah terlintas dalam diri bahwa itu semua sia-sia dan tak memberi kontribusi apa pun bagi kemajuan negeri dan umat ini? Banyak di antara mereka yang berdalih bahwa tak ada larangan dalam Islam untuk merayakan tahun baru atau bahkan sekadar mengucapkan selamat tahun baru Masehi. Jadi mereka beranggapan bahwa sah-sah saja mereka turut ambil bagian dalam perayaan menyambut tahun baru.

Apakah mereka lupa bahwa sejatinya perayaan tahun baru itu berkaitan erat dengan budaya dan peradaban barat yang tak selaras dengan Islam? Wikipedia menyebutkan bahwa perayaan malam tahun baru identik dengan kembang api, music, makanan dan minuman beralkohol serta pesta hiruk-pikuk yang menjadi bagian dari perayaan itu sendiri.

Aneh sekali bila ada satu atau dua kalangan yang merayakan malam tahun baru dengan pengajian yang inti acaranya malah ikut-ikutan menghitung mundur detik ketika mendekati angka jam 12 malam. Maksud hati ingin berbeda dan mewarnai perayaan malam tahun baru, tapi tak tahunya malah terjerembab dalam kubangan yang sama. Beda lagi bila acara yang diadakan, dikemas dalam upaya penyadaran tentang hakikat dan makna perayaan tahun baru sehingga memberi efek pada para peserta untuk menjauhi segala aktivitas yang tidak berguna dan sia-sia.

Bilapun menghabiskan malam tahun baru di rumah saja bersama keluarga, harus dipastikan bahwa tiap anggota keluarga tidak terlena dengan begitu banyaknya acara ‘bagus’ dikemas oleh para pengelola stasiun TV. Menonton TV memang boleh-boleh saja, tapi yang harus diingat adalah alokasi waktu ketika menontonnya. Jangan sampai keasyikan menonton sehingga tidur sangat larut malam yang menyebabkan sulit bangun pagi dan shalat Subuh pun kesiangan. Ini namanya melakukan yang mubah dan meninggalkan yang wajib, jangan sampai deh!

....lewatkan malam pergantian tahun Masehi dengan aktivitas yang bermanfaat sebagaimana malam-malam biasanya. Bukankah seorang muslim itu adalah orang yang menjauhi perbuatan sia-sia dan selalu berhitung amal untuk kebaikan akhiratnya....

So, lewatkan malam pergantian tahun Masehi dengan aktivitas yang bermanfaat sebagaimana malam-malam biasanya. Bukankah seorang muslim itu adalah orang yang menjauhi perbuatan sia-sia dan selalu berhitung amal untuk kebaikan akhiratnya? Muhasabah atau introspeksi diri juga tidak harus menunggu malam tahun baru Masehi. Setiap harinya bagi pribadi muslim, adalah hari untuk selalu bermuhasabah dan berkomitmen agar menjadi lebih baik dan baik lagi. Alangkah meruginya orang yang bertekad berubah menunggu momen tahun baru yang datang Cuma setahun sekali. Iya kalo nggak si ajal datang sebelum sempat introspeksi dan bertaubat? Ihh….nggak banget!

Sobat, banggalah dengan jati diri keislamanmu. Dan merayakan malam tahun baru Masehi yang identik dengan hura-hura bukanlah prilaku seorang muslim yang selalu terjaga setiap langkah dan amal perbuatannya. Mending juga tidur di rumah kemudian paginya bisa bangun subuh tepat waktu, sukur-sukur bisa bangun untuk tahajud. Kegiatan ini jauh lebih keren daripada ikut-ikutan perayaan yang jelas-jelas bertentangan dengan ajaran Islam. Setuju donk ya? Pasti donk! ^_^

Dalil Haramnya Merayakan Tahun Baru Masehi

Dalil Haramnya Merayakan Tahun Baru Masehi

Tahun baru masehi pada zaman kita ini dirayakan dengan besar-besaran. Suara terompet dan tontonan kembang api hampir menghiasi seluruh penjuru dunia di barat dan di timurnya. Tidak berbeda negara yang mayoritas penduduknya kafir ataupun muslim. Padahal, perayaan tersebut identik dengan hari besar orang Nasrani.

Banyak keyakinan batil yang ada pada malam tahun baru. Di antaranya, siapa yang meneguk segelas anggur terakhir dari botol setelah tengah malam akan mendapatkan keberuntungan. Jika dia seorang bujangan, maka dia akan menjadi orang pertama menemukan jodoh dari antara rekan-rekannya yang ada di malam itu. Keyakinan lainnya, di antara bentuk kemalangan adalah masuk rumah pada malam tahun tanpa membawa hadiah, mencuci baju dan peralatan makan pada hari itu adalah tanda kesialan, membiarkan api menyala sepanjang malam tahun baru akan mendatangkan banyak keberuntungan, dan bentuk-bentuk khurafat lainnya.

Sesungguhnya keyakinan-keyakinan batil tersebut diadopsi dari keyakinan batil Nasrani. Yang hakikatnya, mengadopsi dan meniru budaya batil ini adalah sebuah keharaman. Karena siapa yang bertasyabbuh (menyerupai) kepada satu kaum, maka dia bagian dari mereka.

Haramnya Bertasyabuh Kepada Orang Kafir

Secara ringkas, bertasyabbuh di sini maknanya adalah usaha seseorang untuk menyerupai orang lain yang ingin dia sama dengannya, baik dalam penampilan, karakteristik dan atribut.

Di antara perkara fundamental dari agama kita adalah memberikan kecintaan kepada Islam dan pemeluknya, berbara’ (membenci dan berlepas diri) dari kekufuran dan para ahlinya. Dan tanda bara’ yang paling nampak dengan berbedanya seorang muslim dari orang kafir, bangga dengan agamanya dan merasa terhormat dengan Islamnya, seberapapun hebat kekuatan orang kafir dan kemajuan peradaban mereka.

. . . tanda bara’ yang paling nampak dengan berbedanya seorang muslim dari orang kafir, bangga dengan agamanya dan merasa terhormat dengan Islamnya, seberapapun hebat kekuatan orang kafir dan kemajuan peradaban mereka.

Walaupun kondisi orang muslim lemah, terbelakang, dan terpecah-pecah, sedangkan kekuatan kafir sangat hebat, tetap kaum muslimin tidak boleh menjadikannya sebagai dalih untuk membebek kepada kaum kuffar dan justifikasi untuk menyerupai mereka sebagaimana yang diserukan kaum munafikin dan para penjajah. Semua itu dikarenakan teks-teks syar’i yang mengharamkan tasyabbuh (menyerupai) dengan orang kafir dan larangan membebek kepada mereka tidak membedakan antara kondisi lemah dan kuat. Dan juga karena seorang muslim -dengan segenap kemampuannya- harus merasa mulia dengan agamanya dan terhormat dengan ke-Islamnya, sehingga pun saat mereka lemah dan terbelakang.

. . . kondisi orang muslim lemah, terbelakang, dan terpecah-pecah, tetap tidak boleh dijadikan sebagai dalih untuk membebek kepada kaum kuffar dan justifikasi untuk menyerupai mereka

Allah Subhanahu wa Ta'ala menyeru agar seorang muslim bangga dan terhormat dengan agamanya. Dia menggolongkannya sebagai perkataan terbaik dan kehormatan yang termulia dalam firmannya,

وَمَنْ أَحْسَنُ قَوْلاً مِّمَّن دَعَا إِلَى اللَّهِ وَعَمِلَ صَالِحاً وَقَالَ إِنَّنِي مِنَ الْمُسْلِمِينَ

Siapakah yang lebih baik perkataannya daripada orang yang menyeru kepada Allah, mengerjakan amal yang shaleh dan berkata: "Sesungguhnya aku termasuk orang-orang yang berserah diri?".” (QS. Fushilat: 33)

Karena sangat urgennya masalah ini, yaitu agar seorang muslim berbeda dengan orang kafir, Allah memerintahkan kaum muslimin agar berdoa kepada-Nya minimal 17 kali dalam sehari semalam agar menjauhkan dari jalan hidup orang kafir dan menunjukinya kepada jalan lurus.

اِهْدِنَا الصِّرَاطَ الْمُسْتَقِيمَ صِرَاطَ الَّذِينَ أَنْعَمْتَ عَلَيْهِمْ غَيْرِ الْمَغْضُوبِ عَلَيْهِمْ وَلَا الضَّالِّينَ

Tunjukilah kami jalan yang lurus. (yaitu) jalan orang-orang yang telah Engkau anugerahkan nikmat kepada mereka, bukan (jalan) mereka yang dimurkai dan bukan (pula jalan) mereka yang sesat.” (QS. Al-Fatihah: 6-7)

Banyak sekali nash Al-Qur’an dan Sunnah yang melarang bertasyabbuh dengan mereka dan menjelaskan bahwa mereka dalam kesesatan, maka siapa yang mengikuti mereka berarti mengikuti mereka dalam kesesatan.

ثُمَّ جَعَلْنَاكَ عَلَى شَرِيعَةٍ مِّنَ الْأَمْرِ فَاتَّبِعْهَا وَلَا تَتَّبِعْ أَهْوَاء الَّذِينَ لَا يَعْلَمُونَ

Kemudian Kami jadikan kamu berada di atas suatu syariat (peraturan) dari urusan (agama) itu, maka ikutilah syariat itu dan janganlah kamu ikuti hawa nafsu orang-orang yang tidak mengetahui.” (QS. Al-Jatsiyah: 18)

وَلَئِنِ اتَّبَعْتَ أَهْوَاءهُم بَعْدَ مَا جَاءكَ مِنَ الْعِلْمِ مَا لَكَ مِنَ اللّهِ مِن وَلِيٍّ وَلاَ وَاقٍ

Dan seandainya kamu mengikuti hawa nafsu mereka setelah datang pengetahuan kepadamu, maka sekali-kali tidak ada pelindung dan pemelihara bagimu terhadap (siksa) Allah.” (QS. Al-Ra’du: 37)

وَلاَ تَكُونُواْ كَالَّذِينَ تَفَرَّقُواْ وَاخْتَلَفُواْ مِن بَعْدِ مَا جَاءهُمُ الْبَيِّنَاتُ

Dan janganlah kamu menyerupai orang-orang yang bercerai-berai dan berselisih sesudah datang keterangan yang jelas kepada mereka.” (QS. Ali Imran: 105)

Allah Ta’ala menyeru kaum mukminin agar khusyu’ ketika berdzikir kepada Allah Subhanahu wa Ta'ala dan membaca ayat-ayat-Nya, lalu Dia berfirman,

وَلَا يَكُونُوا كَالَّذِينَ أُوتُوا الْكِتَابَ مِن قَبْلُ فَطَالَ عَلَيْهِمُ الْأَمَدُ فَقَسَتْ قُلُوبُهُمْ وَكَثِيرٌ مِّنْهُمْ فَاسِقُونَ

Dan janganlah mereka seperti orang-orang yang sebelumnya telah diturunkan Al Kitab kepadanya, kemudian berlalulah masa yang panjang atas mereka lalu hati mereka menjadi keras. Dan kebanyakan di antara mereka adalah orang-orang yang fasik.” (QS. al-Hadid: 16)

Tidak diragukan lagi, menyerupai mereka termasuk tanda paling jelas adanya kecintaan dan kasih sayang terhadap mereka. Ini bertentangan dengan sikap bara’ah (membenci dan berlepas diri) dari kekafiran dan pelakunya. Padahal Allah telah melarang kaum mukminin mencintai, loyal dan mendukung mereka. Sedangkan loyal dan mendukung mereka adalah sebab menjadi bagian dari golongan mereka, -semoga Allah menyelamatkan kita darinya-.

Allah Ta’ala berfirman,

يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُواْ لاَ تَتَّخِذُواْ الْيَهُودَ وَالنَّصَارَى أَوْلِيَاء بَعْضُهُمْ أَوْلِيَاء بَعْضٍ وَمَن يَتَوَلَّهُم مِّنكُمْ فَإِنَّهُ مِنْهُمْ

Hai orang-orang yang beriman, janganlah kamu mengambil orang-orang Yahudi dan Nasrani menjadi pemimpin-pemimpin (mu); sebahagian mereka adalah pemimpin bagi sebahagian yang lain. Barang siapa di antara kamu mengambil mereka menjadi pemimpin, maka sesungguhnya orang itu termasuk golongan mereka." (QS. Al-Baqarah: 51)

Menyerupai orang kafir termasuk tanda paling jelas adanya kecintaan dan kasih sayang terhadap mereka. Ini bertentangan dengan sikap bara’ah (membenci dan berlepas diri) dari kekafiran dan pelakunya.

Kamu tidak akan mendapati sesuatu kaum yang beriman kepada Allah dan hari akhirat, saling berkasih sayang dengan orang-orang yang menentang Allah dan Rasul-Nya, sekalipun orang-orang itu bapak-bapak, atau anak-anak atau saudara-saudara atau pun keluarga mereka." (QS. Al-Mujadilah: 22)

Syaikhul Islam Ibnu Taimiyah berkata, “Menyerupai (mereka) akan menunbuhkan kasih sayang, kecintaan, dan pembelaan dalam batin. Sebagaimana kecintaan dalam batin akan melahirkan musyabahah (ingin menyerupai) secara zahir.” Beliau berkata lagi dalam menjelaskan ayat di atas, “Maka Dia Subhanahu wa Ta'ala mengabarkan, tidak akan didapati seorang mukmin mencintai orang kafir. Maka siapa yang mencintai orang kafir, dia bukan seorang mukmin. Dan penyerupaan zahir akan menumbuhkan kecintaan, karenanya diharamkan.”

Nabi shallallahu 'alaihi wasallam bersabda,

مَنْ تَشَبَّهَ بِقَوْمٍ فَهُوَ مِنْهُمْ

Barangsiapa menyerupai suatu kaum, maka ia termasuk golongan mereka. (HR. Abu Dawud, Ahmad dan dishahihkan Ibnu Hibban. Ibnu Taimiyah menyebutkannya dalam kitabnya Al-Iqtidha’ dan Fatawanya. Dishahihkan oleh Al-Albani dalam Shahih al-Jami’ no. 2831 dan 6149)

Syaikhul Islam berkata, “Hadits ini –yang paling ringan- menuntut pengharaman tasyabbuh (menyerupai) mereka, walaupun zahirnya mengafirkan orang yang menyerupai mereka seperti dalam firman Allah Ta’ala, “Siapa di antara kamu yang berloyal kepada mereka, maka sungguh ia bagian dari mereka.” (QS. Al-Maidah: 51).” (Al-Iqtidha’: 1/237)

Imam al-Shan’ani rahimahullaah berkata, “Apabila menyerupai orang kafir dalam berpakaian dan meyakini supaya seperti mereka dengan pakaian tersebut, ia telah kafir. Jika tidak meyakini (seperti itu), terjadi khilaf di antara fuqaha’ di dalamnya: Di antara mereka ada yang berkata menjadi kafir, sesuai dengan zahir hadits; Dan di antara yang lain mereka berkata, tidak kafir tapi harus diberi sanksi peringatan.” (Lihat: Subulus salam tentang syarah hadits tesebut).

Ibnu Taimiyah rahimahullaah menyebutkan, bahwa menyerupai orang-orang kafir merupakan salah satu sebab utama hilangnya (asingnya syi’ar) agama dan syariat Allah, dan munculnya kekafiran dan kemaksiatan. Sebagaimana melestarikan sunnah dan syariat para nabi menjadi pokok utama setiap kebaikan. (Lihat: Al-Iqtidha’: 1/314)

Bentuk Menyerupai Orang Kafir Dalam Hari Besar Mereka

Orang-orang kafir –dengan berbagai macam agama dan sektenya- memiliki hari raya yang beraneka ragam. Di antanya ada bersifat keagamaan yang menjadi pondasi agama mereka atau hari raya yang sengaja mereka ciptakan sendiri sebagai bagian dari agama mereka. Namun kebanyakannya berasal dari tradisi dan momentum yang sengaja dibuat hari besar untuk memperingatinya. Misalnya hari besar Nasional dan semisalnya. Lebih jauhnya ada beberapa contohnya sebagai berikut:

1. Hari untuk beribadah kepada tuhannya, seperti hari raya wafat Jesus Kristus, paskah, Misa, Natal, Tahun Baru Masehi, dan semisalnya. Seorang muslim terkategori menyerupai mereka dalam dua kondisi:

Pertama, Ikut serta dalam hari raya tersebut. Walaupun perayaan ini diselenggarakan kelompok minoritas non-muslim di negeri kaum muslimin, lalu sebagian kaum muslimin ikut serta di dalamnya sebagaimana yang pernah terjadi pada masa Ibnu Taimiyah dan Imam Dzahabi. Realitas semacam ini tersebar di negeri-negeri kaum muslimin. Lebih buruk lagi, ada sebagian kaum muslimin yang bepergian ke negeri kafir untuk menghadiri perayaan tersebut dan ikut berpartisipasi di dalamnya, baik karena menuruti hawa nafsunya atau untuk memenuhi undangan orang kafir sebagaimana yang dialami kaum muslimin yang hidup di negeri kafir, para pejabat pemerintahan, atau para bisnismen yang mendapat undangan rekan bisnisnya untuk menandatangi kontrak bisnis. Semua ini haram hukumnya dan ditakutkan menyebabkan kekufuran berdasarkan hadits, “Barangsiapa menyerupai suatu kaum, maka ia termasuk golongan mereka.” Pastinya, orang yang melakukan itu sadar bahwa itu merupakan bagian dari syi’ar agama mereka.

Kedua, Mengadopsi perayaan orang kafir ke negeri kaum muslimin. Orang yang menghadiri perayaan orang-orang kafir di negara mereka, lalu dengan kajahilan dan lemahnya iman, ia kagum dengan perayaan tersebut. kemudian dia membawa perayaan tersebut ke negara-negara muslim sebagaimana perayaan tahun baru Masehi. Kondisi ini lebih buruk dari yang pertama, karena dia tidak hanya ikut merayakan syi’ar agama orang kafir di Negara mereka, tapi malah membawanya ke negara-negara muslim.

. . .perayaan tahun baru Masehi adalah tradisi dan syi’ar agama orang kafir di Negara mereka, namun telah dibawa dan dilestarikan di negara-negara muslim...

2. Hari besar yang awanya menjadi syi’ar (simbol) orang-orang kafir, lalu dengan berjalannya waktu berubah menjadi tradisi dan perayaan global, seperti olimpiade oleh bangsa Yunani kuno yang saat ini menjadi ajang olah raga Internasional yang diikuti oleh semua Negara yang tedaftar dalam Komite Olimpiade Internasional (IOC). Ikut serta di dalamnya ada dua bentuk:

Pertama, menghadiri upacara pembukaan dan karnavalnya di negeri kafir seperti yang banyak di lakukan negara-negara muslim yang mengirimkan atlit-atlitnya untuk mengikuti berbagai ajang olah raga yang diadakan.

Kedua, membawa perayaan ini ke negera-negara muslim, seperti sebagian negeri muslim meminta menjadi tuan rumah dan penyelenggara Olimpiade ini.

Keduanya tidak boleh diadakan dan diselenggarakanaa di Negara-negara muslim dengan beberapa alasan:

a. Olimpiade ini pada awalnya merupakan hari besar kaum pagan Yunani kuno dan merupakan hari paling bersejaran bagi mereka, lalu diwarisi oleh kaum Romawi dan dilestarikan kaum Nasrani.

b. Ajang tersebut memiliki nama yang maknanya sangat dikenal oleh bangsa Yunani sebagai hari ritus mereka.

Keberadaannya yang menjadi ajang oleh raga tidak lantas merubah statusnya sebagai hari raya kaum pagan berdasarkan nama dan asal usulnya. Dasar haramnya perayaan tersebut adalah hadits Tsabit bin Dhahak radhiyallahu 'anhu, ia berkata, “Ada seseorang bernazar di masa Rasulullah shallallahu 'alaihi wasallam untuk menyembelih unta di Bawwanah –yaitu nama suatu tempat-, ia lalu mendatangi Nabi shallallahu 'alaihi wasallam dan berkata: “Aku bernazar untuk menyembelih unta di Bawwanah.” Rasulullah shallallahu 'alaihi wasallam bersabda: “Apakah di sana ada berhala jahiliyah yang disembah?” Mereka berkata: “Tidak.” Beliau bertanya lagi: “Apakah di sana dilakukan perayaan hari raya mereka?” Mereka berkata: “Tidak.” Beliau bersabda: “Tunaikanlah nazarmu, sesungguhnya tidak boleh menunaikan nazar yang berupa maksiat kepada Allah dan yang tidak mampu dilakukan oleh anak Adam.” (HR. Abu Dawud dan sanadnya sesuai syarat as-Shahihain)

Ditimbang dengan hadits Nabi shallallahu 'alaihi wasallam di atas, bahwa asal dari olah raga priodik ini ada hari raya orang kafir. Dan ini diharamkan sebagaimana diharamkannya menyembelih unta untuk Allah di tempat yang dijadikan sebagai perayaan hari raya orang kafir. Dan perbedaan waktu dan tempat tidak mempengaruhi dari subtansi alasan diharamkannya penyembelihan tersebut.

Ibnu Taimiyah rahimahullaah menjelaskan, hadits ini mengandung makna bahwa tempat yang digunakan untuk perayaan hari besar mereka tidak boleh digunakan untuk menyembelih walaupun itu bentuknya nazar. Sebagaimana tempat tersebut sebagai tempat menaruh berhala mereka. Bahwa nazar semacam itu menunjukkan pengagungan kepada tempat tersebut yang diagungkan mereka untuk merayakan hari besarnya atau sebagai bentuk ikut serta (partisipasi) dalam perayaan hari besar tersebut. Atau juga untuk menghidupkan syi’ar mereka di sana. Apabila mengistimewakan satu tempat yang menjadi perayaan agama mereka saja dilarang, bagaimana dengan perayaan itu sendiri?! (Diringkas dari al-Iqtidha’: 1/344)

Sedangkan olimpiade ini bukan hanya waktu atau tempatnya, tapi hari raya itu sendiri berdasarkan asal penamaanya dan aktifitas yang ada di dalamnya, seperti menyalakan lampu olimpiade. Padahal itu sebagai lambang hari besar mereka. Dan ajang olahraga ini juga dilaksanakan pas waktu perayaan hari besar olimpiade, yang dilaksanakan empat tahun sekali.

3. Menyerupai Orang Kafir Dalam Merayakan Hari Besar Islam

Bentuk bertasyabbuh dengan orang kafir bisa terjadi juga dalam perayaan hari raya Islam, Idul Fitri dan Adha. Yaitu merayakan hari raya Islam dengan cara-cara yang bisa digunakan kaum kuffar dalam merayakan hari besar mereka.

Bahwa sesungguhnya, hari raya kaum muslimin dihiasi dengan syukur kepada Allah Ta’ala, mengagungkan, memuji dan mentaati-Nya. Bergembira menikmati karunia nikmat dari Allah Ta’ala tanpa menggunakannya untuk bermaksiat. Ini berbeda dengan hari raya kaum kuffar, dirayakan untuk mengagungkan syi’ar batil dan berhala-berhala mereka yang disembah selain Allah Ta’ala. Dalam perayaannya, mereka tenggelam dalam syahwat yang haram.

Namun sangat disayangkan banyak kaum muslimin yang di penjuru dunia yang menyerupai orang kafir dalam kemaksiatan itu. Mereka merubah nuansa Idul Fitri dan Idul Adha sebagai musim ketaatan dan syukur menjadi musim bermaksiat dan kufur nikmat, yaitu dengan mengisi malam-malamnya dengan musik-musik, nyanyir-nyanyi, mabuk-mabukan, pesta yang bercampur laki-laki dan perempuan dan bentuk pelanggaran-pelanggaran lainnya. Semua ini disebabkan mereka meniru cara orang kafir dalam merayakan hari besar mereka yang diisi dengan menuruti syahwat dan maksiat.

Semoga Allah membimbing kita kepada kondisi yang lebih diridhai-Nya, tidak menyimpang dari aturan Islam dan tidak bertasyabbuh dengan kaum kafir dalam acara-acara mereka.

Oleh: Badrul Tamam

วันพฤหัสบดีที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Renungan Soal Ucapan "Selamat Natal"


Sungguh kondisi sebagian ummat Islam dewasa ini sudah sangat memprihatinkan. Betapa tidak, Allah di dalam Kitabullah Al-Quranul Karim jelas-jelas memerintahkan kita untuk mengajak Ahli Kitab (yakni kaum penganut Yahudi dan Nasrani) agar hanya menyembah Allah semata, namun dalam realitanya justeru tidak sedikit ummat Islam yang setiap tahun ketika memasuki bulan Desember malah berbondong-bondong mengucapkan selamat atas perayaan hari Natal. Sudahkah mereka benar-benar merenungi dampak dari ucapan "Selamat Natal" yang mereka layangkan kepada ummat Kristiani tersebut? Mari kita coba mendalami hal ini dengan hati yang tenang dan fikiran yang jernih.

Marilah kita lihat apa yang Allah perintahkan kepada kita ummat Islam di dalam Al-Qur’an. Allah berfirman:

قُلْ يَا أَهْلَ الْكِتَابِ تَعَالَوْا إِلَى كَلِمَةٍ سَوَاءٍ بَيْنَنَا وَبَيْنَكُمْ أَلا نَعْبُدَ إِلا اللَّهَ وَلا نُشْرِكَ بِهِ شَيْئًا

Katakanlah, "Hai Ahli Kitab, marilah (berpegang) kepada suatu kalimat (ketetapan) yang tidak ada perselisihan antara kami dan kamu, bahwa tidak kita sembah kecuali Allah dan tidak kita persekutukan Dia dengan sesuatu apapun." (QS. Ali Imran [3] : 64)

Jelas di dalam ayat di atas Allah menyuruh kita mengajak kaum Nasrani untuk bertauhid yaitu hanya mengesakan dan menyembah Allah semata dan agar tidak mempersekutukan Allah dengan sesuatu apapun di muka bumi ini. Dan tidak ada seorangpun muslim yang tidak kenal surah Al-Ikhlas —bahkan hafal sejak masih duduk di bangku SD— di mana di dalamnya terdapat firman Allah sebagai berikut:

لَمْ يَلِدْ وَلَمْ يُولَدْ وَلَمْ يَكُنْ لَهُ كُفُوًا أَحَدٌ

"Dia (Allah) tiada beranak dan tiada pula diperanakkan, dan tidak ada seorang pun yang setara dengan Dia (Allah)." (QS. Al-Ikhlas [112] : 3-4)

Bagi seorang muslim keyakinan bahwa Allah subhaanahu wa ta’aala itu Maha Esa adalah perkara yang sudah selesai dan mantap diyakininya. Allah tidak punya anak dan Allah tidak punya orang-tua. Bahkan tidak ada sesuatupun atau seseorangpun di muka bumi ini, baik di masa lalu, masa kini maupun di masa depan yang bisa dan boleh disetarakan atau diserupakan dengan Allah subhaanahu wa ta’aala.

Lalu mengapa Allah menyuruh ummat Islam untuk mengajak ahli Kitab —termasuk kaum Nasrani di dalamnya— agar bersepakat dengan ajaran tauhid? Bahwa tidak boleh ada di dunia ini yang disembah selain Allah dan bahwa tidak boleh ada apapun atau siapapun di dunia ini yang dipersekutukan dengan Allah subhaanahu wa ta’aala. Allah menyuruh kita mengajak mereka kepada kalimat Tauhid sebab pada asalnya kalimat ini pulalah yang telah diajarkan oleh Yesus Kristus (kata mereka) atau Nabiyullah Isa ‘alaihis salaam (kata Allah dan ummat Islam) kepada Bani Israel. Nabiyullah Isa ‘alaihis salaam tidak pernah menyatakan bahwa dirinya adalah anak tuhan apalagi tuhan itu sendiri. Nabiyullah Isa ‘alaihis salaam tidak pernah menyuruh ummatnya untuk mempersekutukan Allah dengan dirinya dan diri ibundanya Maryam.

وَإِذْ قَالَ اللَّهُ يَا عِيسَى ابْنَ مَرْيَمَ أَأَنْتَ قُلْتَ لِلنَّاسِ اتَّخِذُونِي وَأُمِّيَ إِلَهَيْنِ مِنْ دُونِ اللَّهِ قَالَ سُبْحَانَكَ مَا يَكُونُ لِي أَنْ أَقُولَ مَا لَيْسَ لِي بِحَقٍّ

"Dan (ingatlah) ketika Allah berfirman, "Hai Isa putra Maryam, adakah kamu mengatakan kepada manusia, 'Jadikanlah aku dan ibuku dua orang tuhan selain Allah?'" Isa menjawab, 'Maha Suci Engkau, tidaklah patut bagiku mengatakan apa yang bukan hakku (mengatakannya).'" (QS. Al-Maidah [5] : 116)

Adalah suatu dusta besar bila ada yang menyangka apalagi meyakini bahwa seorang Nabi yang diutus Allah akan menyuruh ummatnya untuk menyembah dirinya dan bukan menyembah Allah subhaanahu wa ta’aala yang telah mengutus dirinya menjadi seorang Nabiyullah.

مَا كَانَ لِبَشَرٍ أَنْ يُؤْتِيَهُ اللَّهُ الْكِتَابَ وَالْحُكْمَ وَالنُّبُوَّةَ ثُمَّ يَقُولَ لِلنَّاسِ كُونُوا عِبَادًا لِي مِنْ دُونِ اللَّهِ

Tidak wajar bagi seseorang manusia yang Allah berikan kepadanya Al Kitab, hikmah dan kenabian, lalu dia berkata kepada manusia, "Hendaklah kamu menjadi penyembah-penyembahku bukan penyembah Allah." (QS. Ali Imran [3] : 79)

Sehingga Nabiyullah Isa ‘alaihis salaam sendiri ketika ditanya Allah mengenai dusta besar yang telah dilakukan oleh sebagian ummatnya, menjawab sebagai berikut:

مَا قُلْتُ لَهُمْ إِلا مَا أَمَرْتَنِي بِهِ أَنِ اعْبُدُوا اللَّهَ رَبِّي وَرَبَّكُمْ

"Aku tidak pernah mengatakan kepada mereka kecuali apa yang Engkau perintahkan kepadaku (mengatakan)nya yaitu, 'Sembahlah Allah, Tuhanku dan Tuhanmu'." (QS. Al-Maidah [5] : 117)

Jadi sebenarnya peringatan dan perayaan hari kelahiran Yesus Kristus bukanlah suatu peringatan hari ulang tahun biasa sebagaimana ulang tahun manusia lain pada umumnya. Bagi sebagian besar ummat Kristiani di seluruh dunia Hari Natal atau kelahiran Yesus setiap tanggal 25 Desember diyakini merupakan hari lahirnya anak tuhan bahkan hari lahirnya tuhan itu sendiri...! Subhaanallahi ‘amma yusyrikun (Maha Suci Allah dari apa yang mereka persekutukan). Ummat Nasrani meyakini bahwa setiap tanggal tersebut mereka menegaskan kembali keyakinan keliru mereka bahwa Allah punya anak atau Allah boleh diserupakan dengan seorang manusia, dalam hal ini Yesus atau kita menyebutnya Isa ‘alaihis salaam.

Dan Allah dengan tegas memvonis kafir bagi siapa saja yang mengucapkan kalimat sesat tersebut:

لَقَدْ كَفَرَ الَّذِينَ قَالُوا إِنَّ اللَّهَ هُوَ الْمَسِيحُ ابْنُ مَرْيَمَ وَقَالَ الْمَسِيحُ يَا بَنِي إِسْرَائِيلَ اعْبُدُوا اللَّهَ رَبِّي وَرَبَّكُمْ

Sesungguhnya telah kafirlah orang-orang yang berkata, "Sesungguhnya Allah adalah Al Masih putra Maryam", padahal Al Masih (sendiri) berkata: "Hai Bani Israel, sembahlah Allah Tuhanku dan Tuhanmu." (QS. Al-Maidah [5] : 72)

لَقَدْ كَفَرَ الَّذِينَ قَالُوا إِنَّ اللَّهَ ثَالِثُ ثَلاثَةٍ وَمَا مِنْ إِلَهٍ إِلا إِلَهٌ وَاحِدٌ

"Sesungguhnya kafirlah orang-orang yang mengatakan, 'Bahwasanya Allah salah satu dari yang tiga', padahal sekali-kali tidak ada Tuhan (yang berhak disembah) selain Tuhan Yang Esa." (QS. Al-Maidah [5] : 73)

Bila Allah memvonis mereka karena ucapan batilnya itu, lalu mengapa ummat Islam malah turut mengucapkan selamat kepada mereka atas kebatilan keyakinan mereka itu? Alih-alih kita mengajak mereka untuk bertaubat dan hanya menyembah Allah sebagaimana Allah perintahkan kita dan Nabiyullah Isa ‘alaihis salaam atau Yesus telah menyuruh mereka, malah sebagian ummat Islam dewasa ini turut memberikan dukungan dan ucapan selamat atas kekeliruan, kekafiran dan kemusyrikan mereka itu.

Bukankah ucapan selamat dari ummat Islam justeru akan melestarikan keyakinan sesat mereka? Mereka tidak diingatkan bahwa itu keliru malah mereka diberikan kalimat ucapan selamat? Alangkah tega dan zalimnya perbuatan orang-orang yang mengucapkan selamat Natal kepada ummat Kristiani yang merayakan hari kelahiran anak tuhan bahkan kelahiran tuhan itu sendiri. Kita tahu bahwa itu adalah kebatilan tetapi kita malah memberikan reinforcement dengan Christmas Greeting yang diucapkan, baik melalui ucapan langsung, facebook, email, kartu Natal atau Televisi. Ibaratnya seorang muslim yang seperti itu sedang menyatakan kepada seorang Nasrani, “Selamat ya Anda telah menjadi seorang yang kafir di mata Allah Tuhan Yang Sebenarnya.” Na’udzubillahi min dzaalika...!

Bahkan di dalam ayat-ayat berikut Allah sangat murka dengan orang-orang yang meyakini bahwa Allah Yang Maha Pemurah telah mengambil seorang anak. Sehingga Allah mengancam dengan berbagai bentuk bencana alam dahsyat dikarenakan adanya orang-orang yang mengucapkan claim batil tersbut.

وَقَالُوا اتَّخَذَ الرَّحْمَنُ وَلَدًا لَقَدْ جِئْتُمْ شَيْئًا إِدًّا تَكَادُ السَّمَاوَاتُ يَتَفَطَّرْنَ مِنْهُ وَتَنْشَقُّ الأرْضُ وَتَخِرُّ الْجِبَالُ هَدًّا أَنْ دَعَوْا لِلرَّحْمَنِ وَلَدًا وَمَا يَنْبَغِي لِلرَّحْمَنِ أَنْ يَتَّخِذَ وَلَدًا إِنْ كُلُّ مَنْ فِي السَّمَاوَاتِ وَالأرْضِ إِلا آتِي الرَّحْمَنِ عَبْدًا

"Dan mereka berkata, 'Tuhan Yang Maha Pemurah mengambil (mempunyai) anak.' Sesungguhnya kamu telah mendatangkan sesuatu perkara yang sangat mungkar, hampir-hampir langit pecah karena ucapan itu, dan bumi belah, dan gunung-gunung runtuh, karena mereka mendakwa Allah Yang Maha Pemurah mempunyai anak. Dan tidak layak bagi Tuhan Yang Maha Pemurah mengambil (mempunyai) anak. Tidak ada seorang pun di langit dan di bumi, kecuali akan datang kepada Tuhan Yang Maha Pemurah selaku seorang hamba." (QS. Maryam [19] : 88-93)

Sekali lagi, alangkah tega dan zalimnya bila ada seorang muslim yang mengaku menjadikan Allah sebagai Tuhan Yang Esa, tidak beranak dan tidak diperanakkan, tidak bisa diserupakan dengan apapun dan siapapun, kemudian melihat ada orang-orang yang meng-claim bahwa Ar-Rahman (Allah Yang Maha Pemurah) punya anak lalu malah turut mengucapkan selamat pada hari dimana mereka merayakan peringatan hari kelahiran anak tuhan atau bahkan tuhan mereka itu.

Tidak mengucapkan "Selamat Natal" kepada kaum Nasrani bukan berarti kita tidak bisa bergaul dan berlaku baik kepada mereka. Silahkan berlaku baik kepada mereka sepanjang tahun. Tapi pada giliran tiba bulan Desember, khususnya tanggal tertentu, tunjukkanlah sikap Tauhid kita dengan tidak ikut serta melegitimasi kekeliruan keyakinan mereka dengan mengucapkan Christmas Greetings.

Mungkin ada yang bertanya, "Tetapi kenapa kita tidak mengucapkan 'Christmas Greetings' kepada mereka sedangkan mereka mengucapkan 'Selamat Hari Raya Idul Fitri' kepada kita?" Saudaraku, sungguh tidaklah sama antara Perayaan Natal dengan Hari Raya Idul Fitri. Hari Raya Idul Fitri merupakan sebuah momen dimana ummat Islam bersyukur telah sebulan penuh beribadah Ramadhan dengan shaum di siang hari, taraweh di malam hari dan berburu lailatul qadar. Ini semua merupakan perintah-perintah Allah untuk dilaksanakan dan dijanjikanNya akan mendatangkan keselamatan di dunia maupun di akhirat bagi pelakunya. Artinya memang seorang muslim yang mentaati Allah dengan beribadah Ramadhan adalah fihak yang selamat dan patut diberikan ucapan selamat. Sementara fihak yang merayakan peringatan hari lahirnya 'anak tuhan' atau lahirnya 'tuhan' bagaimana bisa dikatakan selamat sedangkan Allah sangat murka dengan claim batil tersebut? Lalu apa perlunya diberikan ucapan selamat kepadanya? Malah semestinya —jika sanggup— kita mengajak mereka untuk bertaubat dari claim batil tersebut dan kembali kepada ajaran murni Yesus alias Nabiyullah Isa ‘alahis salaam, yakni ajaran Tauhid.

Malah seharusnya kita malu kepada Allah karena kita belum kunjung melaksanakan perintahNya untuk mengajak mereka kepada kalimat yang disepakati antara kita dengan mereka:

تَعَالَوْا إِلَى كَلِمَةٍ سَوَاءٍ بَيْنَنَا وَبَيْنَكُمْ أَلا نَعْبُدَ إِلا اللَّهَ وَلا نُشْرِكَ بِهِ شَيْئًا

Katakanlah, "Hai Ahli Kitab, marilah (berpegang) kepada suatu kalimat (ketetapan) yang tidak ada perselisihan antara kami dan kamu, bahwa tidak kita sembah kecuali Allah dan tidak kita persekutukan Dia dengan sesuatu apapun." (QS. Ali Imran [3] : 64)

Ya Allah Yang Maha Pemurah lagi Maha Pengampun, ampunilah kami yang belum kunjung sanggup secara terbuka melaksanakan perintahMu di atas bahkan sebagian kami justeru malah melegitimasi kesesatan Ahli Kitab dari kalangan kaum Nasrani. Amin ya Rabbal ‘aalamiin.


oleh Ihsan Tandjung

วันอังคารที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เศรษฐศาสตร์อิสลาม

บทความ - กฎหมายอิสลามเบื้องต้น


ใน ภาษาอาหรับเรียก เศรษฐศาสตร์อิสลามว่า อิลมุล-อิกติซอดฺ อัลอิสลามีย์ (عِلْمُ الإقتصادالإسلامي) หมายถึง ภาควิชาที่ประมวลเอาไว้ซึ่งบรรดาหลักการและกฎเกณฑ์ทางศาสนบัญญัติอันเกี่ยว ข้องกับสินทรัพย์ในรูปแบบต่างๆ และวิธีการพัฒนาสินทรัพย์ให้งอกงามโดยมีที่มาจากคัมภีร์อัลกุรฺอานและอัส-สุ นนะฮฺตลอดจนการวินิจฉัยทางสติปัญญาของบรรดานักวิชาการ (ดร.อุมัร สุลัยมาน อับดุลลอฮฺ อัล-อัชก๊อร ; นะฮะว่า สะกอฟะฮฺ อิสลามียะฮฺ อะซีละฮฺ ; (2002) หน้า 316)

คำว่า “อัลอิกติซอดฺ” หมายถึง ความพอดีหรือความเป็นกลางระหว่างความฟุ่มเฟือย, สุรุ่ยสุร่ายและความตระหนี่ถี่เหนียว (อะบุลบะกออฺ ; อัลกุลลี่ยาตฺ หน้า 160)

ที่มาของเศรษฐศาสตร์อิสลาม

บรรดา หลักการและกฎเกณฑ์ต่างๆ ในภาควิชาเศรษฐศาสตร์อิสลาม มีที่มาจากแหล่งเดียวกันกับภาควิชากฎหมายอิสลาม และหลักคำสอนของท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) ที่ปรากฏในอัส-สุนนะฮฺ อาทิเช่น พระดำรัสที่ว่า :

وَالَّذِينَ إِذَا أَنفَقُوا لَمْ يُسْرِفُوا وَلَمْ يَقْتُرُوا وَكَانَ بَيْنَ ذَلِكَ قَوَامًا

“และบรรดาผู้ซึ่ง เมื่อพวกเขาได้ใช้จ่าย พวกเขาก็ไม่ฟุ่มเฟือยสุรุ่ยสุร่าย และพวกเขาก็ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว และระหว่างทั้งสองสภาพนั้น พวกเขาอยู่สายกลาง”

(สูเราะฮฺอัลฟุรกอน อายะฮฺที่ 67)

และหะดีษที่ระบุว่า

مَاعَالَ مَنِ اقْتَصَدَ

“บุคคลที่มีความพอดี (ไม่ฟุ่มเฟือยในการใช้จ่ายและไม่ตระหนี่) ย่อมไม่ขัดสนยากจน”

(รายงานโดยอะฮฺหมัด) เป็นต้น


นอกจากนี้หลักเศรษฐศาสตร์อิสลามยังมีปรากฏอยู่ในตำรับตำราของบรรดานัก วิชาการมุสลิมอีกเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นตำรา อรรถาธิบายอัลกุรฺอาน ตำราอรรถกถาอัลหะดีษ และตำราเฉพาะที่ถูกเขียนขึ้นในเรื่องของทรัพย์สิน เช่น ตำราอัลอัมว๊าลของท่านอบีอุบัยฺด์ หรือตำราอัลค่อรอจฺญ์ของท่านอบูยูซุฟ ในเรื่องของภาษีตลอดจนตำรากฎหมายอิสลามที่กล่าวถึงเรื่องซะกาตฺหรือการค้า ขายและธุรกรรมในรูปต่าง ๆ


โดยเฉพาะตำรากฎหมายอิสลาม (อัลฟิกฮุล อิสลามีย์) ซึ่งถูกแต่งและรวบรวมมามากกว่า 1 พันปีนั้นจะมีระบอบเศรษฐศาสตร์ที่เป็นเอกเทศ ซึ่งบรรดานักปราชญ์มุสลิมได้อรรถาธิบายถึงแหล่งที่มาของรายได้กองคลังบัย ตุ้ลม้าลและแหล่งที่จะจ่ายงบประมาณจากกองคลังออกไป ตลอดจนพูดถึงภาษีที่ดิน ภาษีอัลญิซยะฮฺ ทรัพย์สงคราม และประเภทของซะกาต การจัดเก็บซะกาต และกลุ่มบุคคลที่มีสิทธิรับซะกาต


นอกเหนือจากกฎหมายอิสลามในภาคของการทำธุรกรรมต่างๆ การค้าขาย แม้กระทั่งเรื่องของการแบ่งมรดก ซึ่งบรรดานักปราชญ์มุสลิมได้ศึกษาวิเคราะห์เอาไว้อย่างละเอียดภายในกรอบของ หลักมูลฐานที่มาจากคัมภีร์อัลกุรฺอานและอัสสุนนะฮฺ โดยประมวลกฎเกณฑ์และหลักการต่างๆ เอาไว้อย่างครบถ้วน ซึ่งนักวิชาการร่วมสมัยเรียกว่า “เศรษฐศาสตร์อิสลาม” (อ้างแล้ว หน้า 316-317)


หลักพื้นฐานสำคัญของเศรษฐศาสตร์อิสลาม มีดังต่อไปนี้
ความมีลักษณะเป็นเอกเทศ

ระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามเป็นระบอบที่แยกเป็นเอกเทศจากระบอบเศรษฐศาสตร์ อื่นๆ โดยมีความแตกต่างทั้งในด้านเป้าหมาย วิธีการ และการตราบัญญัติต่างๆ เพื่อปกป้องควบคุม ส่งเสริม และขับเคลื่อนระบอบอย่างเป็นรูปธรรม การที่ปรากฏว่า ระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามได้สอดคล้องกับระบอบเศรษฐศาสตร์อื่นๆ ในข้อปลีกย่อยบางส่วน มิได้หมายความว่าระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามเป็นระบอบสังคมนิยมหรือเป็นระบอบทุน นิยมแต่อย่างใด


ความเป็นส่วนหนึ่งจากองค์รวมของหลักคำสอนในศาสนาอิสลาม

กล่าวคือ ระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามมีความผูกพันอยู่กับหลักความเชื่อ, จริยธรรมอิสลาม และหลักบัญญัติทางศาสนาอิสลามข้ออื่นๆ อย่างยิ่งยวด ทั้งนี้เราไม่สามารถแยกส่วนระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามออกจากระบอบอิสลามอื่นๆ ได้เลย เนื่องจากระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามไม่อาจแสดงบทบาทที่ถูกต้องในการปฏิรูป เรื่องการเงินการคลังของประชาชาติได้เลย ตราบใดที่ระบอบนี้ไม่นำเอาหลักคำสอนทางจิตวิญญาณมาเป็นปัจจัยพื้นฐานในการ พัฒนาจิตใจของปัจเจกบุคคล การปลูกฝังคุณค่าทางจริยธรรมในจิตใจของผู้คนเหล่านั้น ตลอดจนการล้อมสังคมด้วยรั้วทางจริยธรรมอันงดงามอันเป็นสิ่งกำหนดวิถีทางของ ปัจเจกบุคคลและสังคมโดยรวม


เศรษฐศาสตร์อิสลาม เป็นระบอบที่สอดคล้องกับธรรมชาติและสัญชาตญาณของมนุษย์

กล่าวคือมนุษย์มีธรรมชาติของความรักในการครอบครอง และการมีกรรมสิทธิ์ อิสลามได้อนุมัติในเรื่องดังกล่าวด้วยภาพลักษณ์ที่เปิดกว้าง อิสลามเพียงแต่กำหนดเงื่อนไขต่างๆ เพื่อควบคุมไม่ให้ธรรมชาติในการรักที่จะครอบครองและมีกรรมสิทธิ์นั้นส่งผล กระทบต่อปัจเจกบุคคลและสังคม ตลอดจนยังอนุมัติในเรื่องการทำงาน การประกอบสัมมาอาชีพที่ไม่ส่งผลร้ายต่อตัวเองหรือผู้อื่น ซึ่งในกรณีนี้ระบอบอิสลามจึงมีความแตกต่างจากระบอบเศรษฐศาสตร์แบบสังคมนิยม คอมมิวนิสต์และระบอบศักดินาของพวกชนชั้นเจ้าขุนมูลนาย


ความเป็นทางสายกลางและความมีดุลยภาพ

ปัญหาของระบอบเศรษฐศาสตร์อื่นๆ ก็คือ การมองถึงด้านหนึ่งด้านใดเป็นการเฉพาะจากข้อเท็จจริง ดังปรากฏในระบอบเศรษฐศาสตร์แบบทุนนิยมซึ่งมีการตรากฎหมายมากมายเพื่อปกป้อง คุ้มครองสิทธิในการครอบครองกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล และความเสรีในการทำงานและการประกอบอาชีพ แต่ระบอบทุนนิยมก็ละเลยเป็นอันมากในการให้ความสำคัญต่อสิทธิของสังคมส่วน รวม บรรดาคนร่ำรวยและเศรษฐีในระบอบดังกล่าวได้รับอภิสิทธิมากเกินไป จึงเกิดความไม่เป็นธรรมในสังคมและสร้างผลกระทบต่อคนอื่นอย่างมากมาย


ส่วน ระบอบเศรษฐศาสตร์แบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์กลับมุ่งเป้าหมายไปยังการคำนึงถึง สิทธิประโยชน์ของสังคมมากเกินไป จนเกิดความไม่เป็นธรรมต่อปัจเจกบุคคลและลิดรอนสิทธิของพวกเขาในด้านการครอบ ครองกรรมสิทธิและการทำงานแต่ในระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามได้มีการกำหนดระเบียบ ที่เหมาะสมต่อการดำรงอยู่ของปัจเจกบุคคลและวิถีชีวิตของสังคมส่วนรวม ทั้งสองภาคส่วนได้รับการคุ้มครองสิทธิของตนอย่างมีความสมดุลและเป็นธรรม ซึ่งสิ่งนี้จะไม่มีระบอบอื่นนอกจากระบอบอิสลาม อันเป็นระบอบที่พระผู้เป็นเจ้าทรงประทานลงมาให้กับมนุษยชาติ


ความเมตตาซึ่งกันและกันและการเกื้อกูลอย่างเป็นรูปธรรม

การตราบัญญัติในระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามมุ่งชี้นำให้บรรดาผู้ร่ำรวยได้ พยายามทุ่มเทไปในการเกื้อหนุนสิทธิประโยชน์อันพึงมีพึงได้ของเหล่าผู้ยากจน ขัดสน ให้หยิบยื่นความช่วยเหลือแก่คนเหล่านั้น ซึ่งมิใช่เป็นเพียงเรื่องของความเวทนาสงสาร หากแต่เป็นคำสั่งของพระผู้เป็นเจ้า ที่ผู้ใดเบี่ยงเบนออกจากคำสั่งนั้นย่อมถูกลงโทษ อิสลามได้ประกาศอย่างชัดเจนต่อเหล่าอิสลามิกชนว่า “พวก ท่านคือพี่น้องกัน และทรัพย์สินที่พวกท่านมีอยู่ในครอบครองเป็นทรัพย์สินของพระผู้เป็นเจ้า และบรรดาผู้ยากจนขัดสนย่อมมีสิทธิอันชอบธรรมในทรัพย์สินของพวกท่าน”


และ เพื่อทำให้สิ่งดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม อิสลามจึงได้บัญญัติเรื่องซะกาฮฺ ภาษีที่ดินและส่งเสริมให้มีการบริจาคทานและการใช้จ่ายในรูปต่างๆ อันเป็นการลดช่องว่างหรือระยะห่างระหว่างคนรวยกับคนจน ซึ่งนำไปสู่สภาพสังคมที่เต็มไปด้วยความรักและการเกื้อกูลกันระหว่างสมาชิกใน สังคมนั้น


การปฏิเสธระบบชนชั้นวรรณะ

ในระบอบอิสลามไม่มีระบบชนชั้นวรรณะ ถึงแม้ว่าความรวยความจนจะเป็นข้อเท็จจริงที่ปรากฏอยู่ในทุกสังคม แต่ระบอบอิสลามก็ไม่ยอมรับระบบชนชั้นวรรณะที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความร่ำ รวยและความยากจน หากแต่ความประเสริฐของบุคคลขึ้นอยู่กับความยำเกรง และการประกอบความดีทั้งนี้หลักคำสอนของอิสลามได้กำหนดแนวทางในการขจัดระบอบ ชนชั้นวรรณะให้หมดไปจากจิตใจของผู้ศรัทธาด้วยการประกอบศาสนกิจในรูปต่างๆ ที่เน้นถึงความเสมอภาคและภราดรภาพ บรรดาผู้ปกครองในยุคต้นของอิสลามต่างก็ถือว่าบรรดาผู้ที่อ่อนแอต้องได้รับ การเอาใจใส่และคำนึงถึงมากกว่าบรรดาผู้มีฐานะสูงส่งในสังคม


ดัง ปรากฏว่า ในสมัยท่านอุมัร (ร.ฎ.) นั้นมีคำสั่งห้ามบุคคลสำคัญต่างๆ ของตระกูลกุรอยช์ออกไปตั้งหลักแหล่งอยู่ในเขตแคว้นต่างๆ ทั้งนี้เพื่อมิให้พวกเขากลายเป็นชนชั้นที่มีอภิสิทธิเหนือผู้คนทั้งหลาย (ดร.อับดุลมุนอิม ; ดิรอซะฮฺ มุกอรอนะฮฺฯ หน้า 67)


การสร้างความใกล้ชิดระหว่างคนรวยกับคนจน

ระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามยอมรับว่า ความรวยความจนเป็นข้อเท็จจริงที่ปรากฏอยู่ในทุกสังคม ดังปรากฏในคัมภีร์อัลกุรฺอานว่า

نَحْنُ قَسَمْنَا بَيْنَهُم مَّعِيشَتَهُمْ فِي الْحَيَاةِ الدُّنْيَا وَرَفَعْنَا بَعْضَهُمْ فَوْقَ بَعْضٍ دَرَجَاتٍ لِيَتَّخِذَ بَعْضُهُم بَعْضًا سُخْرِيًّا

“เรา (อัลลอฮฺ) ได้จัดสรรปันส่วนการดำรงชีพในชีวิตแห่งโลกนี้ของพวกเขาระหว่างพวกเขา และเราได้ยกให้บางส่วนของพวกเขาเหนือกว่าอีกบางส่วนหลายขั้นนัก ทั้งนี้เพื่อพวกเขาจักได้อำนวยความสะดวกซึ่งกันและกัน”

(สูเราะฮฺอัซ-ซุครุฟ อายะฮฺที่ 32)

ข้อเท็จจริงดังกล่าวเป็นเพราะว่าผู้คนในสังคมย่อมมีความเหลื่อมล้ำกันใน ด้านศักยภาพทางความคิดและวัตถุตลอดจนมีความแตกต่างกันในเรื่องโอกาสและ สถานภาพในการแสวงหาปัจจัยยังชีพ อิสลามได้พยายามในการเยียวยาปัญหาความยากจน ด้วยการขจัดปัญหาที่ต้นตอของมันเพื่อทำให้ระยะห่างระหว่างคนรวยกับคนจนแคบลง มาที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยกำหนดลู่ทางหลายประการด้วยกัน อาทิเช่น ส่งเสริมให้แสวงปัจจัยยังชีพ, การทำงานด้วยน้ำพักน้ำแรงของตนเองเป็นสิ่งที่มีเกียรติในทัศนะของอิสลาม, ปฏิเสธการกระจุกตัวของสินทรัพย์ในกลุ่มชนส่วนน้อย, กำหนดค่าปรับ, ค่าไถ่ และบทลงโทษในรูปการเลี้ยงอาหารแก่คนยากจน และบัญญัติเรื่องการจ่ายซะกาตและการทำทาน เป็นต้น


ทรัพย์สินคือสื่อกลางมิใช่เป้าหมายสูงสุด

อิสลามถือว่าทรัพย์สินเป็นเครื่องประดับและเป็นเพียงปัจจัยของความสุขใน โลกนี้ ซึ่งไม่จีรัง การใช้ทรัพย์สินเป็นสื่อกลางในการประกอบคุณงามความดี และแสวงหาความโปรดปรานของพระองค์อัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) ในโลกหน้าคือสิ่งที่อิสลามเรียกร้องผู้ศรัทธา


ระบอบ อื่นๆ นอกจากอิสลามต่างก็มุ่งสู่การกำหนดให้ความร่ำรวย การมีชีวิตที่สุขสบายแบบวัตถุนิยมและการได้มาซึ่งทรัพย์สินเป็นเป้าหมายสูง สุดโดยไม่คำนึงถึงหลักคำสอนของศาสนาและหลักจริยธรรมอันดีงาม จนในที่สุดผู้คนในปัจจุบันได้ตกเป็นทาสของเงินตราและบูชาวัตถุไปเป็นจำนวน มาก


หลักแห่งความเป็นธรรม

ในระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามจะมุ่งให้ความสำคัญในเรื่องความเป็นธรรมของราคา สินค้า, ค่าจ้างที่เป็นธรรม ตลอดจนผลกำไรที่เป็นธรรม การเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภค การปลอมแปลงสินค้า การผูกขาด และการแสวงหากำไรที่เกินจริง เป็นสิ่งที่ระบอบอิสลามปฏิเสธ


และ เพื่อรักษาหลักการข้อนี้เอาไว้ อิสลามจึงอนุญาตให้ผู้มีอำนาจสามารถเข้าไปแทรกแซงการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ได้ กล่าวคือ รัฐอิสลามสามารถห้ามการผูกขาดสินค้า, ห้ามเพิ่มราคาสินค้า ตลอดจนห้ามการโกงตาชั่ง และการปลอมปนสินค้า โดยมีระบบอัล-ฮิสบะฮฺ (اَلْحِسْبَةُ) อันเป็นระบบในการตรวจสอบและควบคุม


หลักมูลฐานทางศาสนบัญญัติ

อันหมายถึง เรื่องที่อนุมัติ (ฮะล้าล) และเรื่องที่ไม่อนุมัติ (ฮะรอม) ทั้งในด้านการค้าขายและการธุรกรรมในรูปต่างๆ สิ่งที่เป็นลักษณะเฉพาะของระบอบเศรษฐศาสตร์อิสลามก็คือ การห้ามในเรื่องดอกเบี้ยและการประกอบอาชีพที่ต้องห้ามตามหลักคำสอนของศาสนา อาทิเช่น อาชีพที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมสุรา, ธุรกิจการพนัน, ธุรกิจสถานบันเทิงเริงรมย์ และการค้าประเวณี เป็นต้น


เศรษฐกิจพอเพียงกับหลักการอิสลาม

ความหมาย

คำว่า เศรษฐกิจ เป็นคำที่เกิดจากการนำเอาคำ 2 คำมาสนธิกัน คือ คำว่า เศรษฐ- (เสดถะ) ซึ่งเป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง ดีเลิศ, ดีที่สุด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ กับคำว่า กิจ (กิด) หมายถึง ธุระ, งาน ดังนั้นคำว่า “เศรษฐกิจ” จึงหมายถึง งานอันเกี่ยวกับการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจก และการบริโภคใช้สอยสิ่งต่างๆ ของชุมชน (พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 หน้า 786)


ซึ่งหากพิจารณาความหมายตามรากศัพท์เดิมก็จะได้ความหมายแบบ ง่ายๆ ว่า : งานที่ยอดเยี่ยม หรืองานที่ดีเลิศ ซึ่งมีความหมายและนัยกว้างโดยครอบคลุมถึงการผลิต การจำหน่ายจ่ายแจก การบริโภคใช้สอยสิ่งต่างๆ ทั้งในส่วนของปัจเจกบุคคลและสังคมโดยรวม


ส่วน คำว่า “พอเพียง” หรือ “เพียงพอ” เป็นคำที่มีความหมายใกล้เคียงกัน คือ หมายถึง ได้เท่าที่ต้องการ หรือได้เท่าที่กะไว้ หรือ เหมาะควรในระดับปานกลาง ดังนั้นความหมายโดยรวมของคำว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” จึงมีนัยบ่งชี้ที่อยู่ในกรอบหลักการของศาสนาอิสลาม ซึ่งยึดทางสายกลางเป็นหลัก ดังมีหลักคำสอนระบุว่า :

خَيْرُ الأُمُوْرِ أَوْسَطُهَا “ที่ดีที่สุดของกิจการทั้งหลายคือ ตรงกลางของมัน”

(รายงานโดยอิบนุ อัสสัมอานีย์-ฎ่ออีฟ)



ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานแนวพระราชดำริในการดำเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เอาไว้แก่พสกนิกรของพระองค์ ดังนี้

1. ยึดถือความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้านลดละความฟุ่มเฟือยในการใช้ชีวิต

2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจริต

3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง

4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ด้วยการขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสำคัญ

5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา


(ที่มา : มูลนิธิชัยพัฒนา)


จะเห็นได้ว่า แนวพระราชดำริในการดำเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวทรงวางเอาไว้ทั้ง 5 ประการนั้นมีความสอดคล้องกับหลักคำสอนของศาสนาอิสลาม ซึ่งมีปรากฏอย่างชัดเจนในคัมภีร์อัลกุรฺอานและอัล-หะดีษ ดังมีรายละเอียด ตามลำดับดังนี้


1. ประหยัด คือ ใช้จ่ายแต่พอควรแก่ฐานะ ไม่สุรุ่สุร่าย ไม่ฟุ้งเฟ้อ พระองค์อัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) ทรงดำรัสว่า :

وَكُلُواْ وَاشْرَبُواْ وَلاَ تُسْرِفُواْ إِنَّهُ لاَ يُحِبُّ الْمُسْرِفِينَ

“และพวกสูเจ้าจงกินและจงดื่ม และพวกสูเจ้าอย่าได้สุรุ่ยสุร่าย
แท้จริงพระองค์มิทรงรักบรรดาผู้ที่สุรุ่ยสุร่าย”

(สูเราะฮฺอัล-อะอฺรอฟ อายะฮฺที่ 31)


การรู้จักตัดทอนค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นตลอดจนการลดละความ ฟุ่มเฟือยในการใช้ชีวิต ถือเป็นคุณธรรมสำหรับบ่าวของพระผู้ทรงเมตตา (عِبَادُ الرَّحْمنِ) ดังปรากฏในพระดำรัสที่ว่า

وَالَّذِينَ إِذَا أَنفَقُوا لَمْ يُسْرِفُوا وَلَمْ يَقْتُرُوا وَكَانَ بَيْنَ ذَلِكَ قَوَامًا

“และ(คือ)บรรดาผู้ซึ่งเมื่อพวกเขาใช้จ่าย พวกเขาก็ไม่สุรุ่ยสุร่าย และพวกเขาก็ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว

และปรากฏว่าระหว่างสิ่งดังกล่าวคือความเป็นกลาง (ระหว่างการสุรุ่ยสุร่ายและความตระหนี่)”

(สูเราะฮฺอัล-ฟุรกอน อายะฮฺที่ 67)


ในพระดำรัสนี้บ่งชี้ถึงความพอดีใน การใช้จ่ายเพื่อการดำรงชีวิต โดยยึดหลักของความประหยัด ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย สุรุ่ยสุร่าย อิสลามถือว่าความฟุ่มเฟือยและความสุรุ่ยสุร่ายเป็นลักษณะของกลุ่มชนที่ สังกัดตามแนวทางของมารร้าย ดังมีพระดำรัสระบุว่า :

إِنَّ الْمُبَذِّرِينَ كَانُواْ إِخْوَانَ الشَّيَاطِينِ وَكَانَ الشَّيْطَانُ لِرَبِّهِ كَفُورًا

“แท้จริงบรรดาผู้ที่สุรุ่ยสุร่ายฟุ่มเฟือยในการใช้จ่ายนั้น

พวกเขาเป็นพี่น้องกับเหล่ามารร้าย และมารร้ายนั้นมันเนรคุณต่อพระผู้อภิบาลของมัน”

(สูเราะฮฺอัลอิสรออฺ อายะฮฺที่ 27)


นักอรรถาธิบายอัลกุรฺอานกล่าวว่า ความฟุ่มเฟือยและความสุรุ่ยสุร่ายที่อัลกุรฺอานประนามก็คือการใช้จ่ายไปใน สิ่งที่มิได้เป็นไปเพื่อการภักดีต่ออัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) ตลอดจนการใช้จ่ายไปในสิ่งที่ศาสนาอนุมัติให้แต่เกินความจำเป็นและไร้ ประโยชน์


ในขณะเดียวกัน การประหยัดก็จะต้องไม่นำไปสู่ความเห็นแก่ตัวและความตระหนี่ถี่เหนียว อันหมายถึง การปฏิเสธจากการใช้จ่ายทรัพย์สินไปในสิ่งที่เป็นภารกิจจำเป็น เช่น การจ่ายค่าเลี้ยงดูแก่ภรรยาและครอบครัว การจ่ายซะกาต เป็นต้น พระองค์อัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) ทรงดำรัสว่า

الَّذِينَ يَبْخَلُونَ وَيَأْمُرُونَ النَّاسَ بِالْبُخْلِ وَيَكْتُمُونَ مَا آتَاهُمُ اللهُ مِن فَضْلِهِ وَأَعْتَدْنَا لِلْكَافِرِينَ عَذَابًا مُّهِينًا

“และ(คือ)บรรดาผู้ซึ่งตระหนี่ถี่เหนียว และใช้ผู้คนให้มีความตระหนี่ถี่เหนียว

ตลอดจนพวกเขาจะปิดบังสิ่งที่พระองค์อัลลอฮฺทรงนำมาให้แก่พวกเขาจากความโปรดปรานของพระองค์

และเราได้เตรียมการลงทัณฑ์อันอัปยศไว้แล้วแก่บรรดาผู้เนรคุณทั้งหลาย”

(สูเราะฮฺอันนิสาอฺ อายะฮฺที่ 37)


ความตระหนี่ถี่เหนียวมีรากเหง้ามาจากการหลงรักในทรัพย์สิน และถือว่าทรัพย์สินคือเป้าหมายสูงสุดของชีวิต ซึ่งผลร้ายของความตระหนี่ถี่เหนียวนั้นจะทำให้ศรัทธาของบุคคลอ่อนแอและได้ รับความวิบัติในบั้นปลาย ดังปรากฏในอัลหะดีษว่า :

خَصْلَتَانِ لاَتَجْتَمِعَانِ لِمُؤمِنٍ ، الْبُخْلُ ، وَسُوءُ الْخُلُقِ

“2 ประการจะไม่ร่วมอยู่ด้วยกันสำหรับผู้ศรัทธา คือ ความตระหนี่และการมีมารยาทที่เลวทราม”

(รายงานโดยติรมีซี)


และอัลหะดีษที่ระบุว่า

وَاتَّقُواالشُّحَّ فإنَّه أَهْلَكَ مَنْ كَانَ قَبْلَكُمْ ... الحديث

“และพวกท่านจงป้องกัน (ตัวของพวกท่านให้ห่างไกล) ความตระหนี่

เพราะแท้จริงความตระหนี่ได้ทำให้ผู้คนในยุคก่อนหน้าพวกท่านวิบัติมาแล้ว”

(รายงานโดยมุสลิม -2538-)



ดังนั้นการยับยั้ง (ไม่ยอมจ่าย) ทรัพย์สินจากด้านที่จำเป็นต้องจ่าย ถือว่าเป็นความตระหนี่ และการจ่ายทรัพย์สินไปในด้านที่จำเป็นต้องยับยั้ง (ห้ามจ่าย) ถือเป็นความสุรุ่ยสุร่าย และระหว่างกรณีทั้งสองนั้นคือทางสายกลาง ไม่ฟุ่มเฟือยและไม่ตระหนี่ถี่เหนียว

นักวิชาการมุสลิมได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการใช้จ่ายที่เป็นทางสายกลางเอาไว้ 4 ประการดังนี้

1. พยายามแสวงหาทรัพย์สินที่หะล้าล

2. ทุ่มเทอย่างสุดความสามารถในการได้มาซึ่งทรัพย์สินที่พอประมาณ พอเพียงต่อความต้องการเท่านั้น

3. พยายามในการใช้จ่ายทรัพย์สินไปในกรณีที่จำเป็นต้องใช้จ่าย และระงับยับยั้งจากการใช้จ่ายทรัพย์สินไปในสิ่งที่ไม่มีความจำเป็นต้องจ่าย ทั้งนี้เพื่อหลีกห่างจากการตกไปในภาวะของความตระหนี่และความสุรุ่ยสุร่าย ฟุ่มเฟือย

4. พยายามรักษาความบริสุทธิ์ใจในเจตนาให้เป็นไปเพื่อพระองค์อัลลอฮฺ ในการปฏิบัติตามหลักการที่กล่าวมาข้างต้น (ยาซีน,รุชดีย์;อัลมะฮฺซูรอต. หน้า 88-89)



2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องซื่อสัตย์สุจริต

อิสลามถือว่าการประกอบอาชีพเป็นสิ่งมีเกียรติและความเกียจ คร้านเป็นสิ่งที่ถูกประณาม โดยเฉพาะการละทิ้งการทำงานเพื่อหาเลี้ยงชีพของบุคคลที่มีความสามารถนั้นถือ เป็นสิ่งต้องห้าม (หะรอม) และไม่อนุญาตให้มุสลิมเกียจคร้านจากการแสวงหาปัจจัยยังชีพ ด้วยข้ออ้างว่าจะปฏิบัติศาสนกิจเพียงอย่างเดียวหรือมอบหมายต่ออัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) โดยไม่ยึดหลักของการกระทำปัจจัยเหตุและผลของเหตุแห่งการกระทำนั้น ทั้งนี้มีหลักคำสอนระบุเอาไว้ว่า :

لاَيَقْعُدَنَّ أَحَدُكُمْ عَنْ طَلَبِ الرِّ زْقِ

“คนหนึ่งในหมู่พวกท่านอย่าได้นั่ง (งอมืองอเท้า) จากการแสวงหาปัจจัยยังชีพ”


ดังนั้นมุสลิมสามารถที่จะแสวงหาปัจจัยยังชีพด้วยการประกอบ อาชีพหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการเกษตรกรรม การค้าขาย หรือการประดิษฐ์หัตถกรรม หรืออุตสาหกรรม หรือมีตำแหน่งในบริษัท องค์กร หรือเป็นข้าราชการ ตราบใดที่การประกอบอาชีพนั้น ไม่ใช่สิ่งต้องห้าม หรือมีส่วนเกื้อหนุนต่อสิ่งต้องห้าม กล่าวคือ ต้องเป็นอาชีพหรืองานที่ศาสนาอนุมัติให้กระทำได้ ถูกต้องตามศาสนาบัญญัติและกฎหมายของบ้านเมือง ซึ่งในกรณีหลังนี้ต้องเป็นกฎหมายที่ไม่ขัดต่อศาสนบัญญัติ


ฉะนั้น การขายลอตเตอรี่ การขายสุรา การเลี้ยงสุกร การเปิดบ่อนที่มีใบอนุญาต และการทำธุรกิจสถานบริการเริงรมย์ ตลอดจนการทำธุรกรรมที่มีดอกเบี้ย มุสลิมไม่สามารถกระทำได้ถึงแม้จะถูกต้องตามกฎหมายบ้านเมืองก็ตาม


นักวิชาการมุสลิมมีความเห็นต่างกันว่า การประกอบอาชีพใดมีความประเสริฐที่สุดตามคำสอนในศาสนาอิสลาม ฝ่ายหนึ่งระบุว่า การประกอบอาชีพเกษตรกรรม เป็นสิ่งที่ประเสริฐที่สุดในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่ง ถือว่าอาชีพหัตถกรรมและการทำงานที่ใช้มือเป็นสิ่งที่ประเสริฐที่สุด และนักวิชาการอีกกลุ่มหนึ่งถือว่าการค้าขาย เป็นอาชีพที่ประเสริฐที่สุด


อย่าง ไรก็ตามนักวิชาการที่สันทัดกรณี ระบุว่า เรื่องนี้ขึ้นอยู่กับสภาพการณ์ที่แตกต่างกันไป ในยามที่มีความต้องการอาหารหลักมากที่สุด การประกอบอาชีพเกษตรกรรมในยามนั้นย่อมถือเป็นสิ่งที่ประเสริฐที่สุด และในยามที่มีความต้องการสินค้าอุปโภคบริโภคมากที่สุด การทำอาชีพค้าขายก็ย่อมเป็นสิ่งที่ประเสริฐที่สุด และในยามที่ผู้คนต้องการสินค้าจำพวกหัตถกรรมหรือผลิตภัณฑ์ทางอุตสาหกรรม การประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตสินค้าดังกล่าวก็ย่อมถือว่า เป็นสิ่งที่ประเสริฐที่สุด ซึ่งการให้รายละเอียดเช่นนี้นับว่าสอดคล้องกับข้อเท็จจริงและหลักวิชาการ เศรษฐศาสตร์ในปัจจุบัน


เนื่องจากประเทศไทยของเรา เป็นประเทศเกษตรกรรมมาแต่ครั้งโบราณ การประกอบอาชีพเกษตรกรรมจึงเป็นอาชีพหลักของคนไทย ถึงแม้ว่าในยุคปัจจุบันจะมีแนวโน้มในการสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมมากขึ้น แต่อุตสาหกรรมส่วนหนึ่งก็ยังคงมีความเกี่ยวข้องกับภาคเกษตรกรรมซึ่งนำเอา ผลิตผลทางการเกษตรมาแปรรูป อาทิเช่น อุตสาหกรรมผลไม้กระป๋อง,อาหารกึ่งสำเร็จรูป และผลิตภัณฑ์อาหารสัตว์จากพืชเกษตร ตลอดจนการปลูกพืชทดแทนพลังงานน้ำมัน เป็นต้น


อย่างไรก็ตาม การประกอบอาชีพเกษตรกรรมก็มีความเสี่ยงอยู่หลายประการ อาทิเช่น ความเสี่ยงด้านราคาสินค้าเกษตรความเสี่ยงในราคาและการพึ่งพาปัจจัยการผลิต สมัยใหม่จากต่างประเทศ,ความเสี่ยงด้านน้ำที่ใช้มนการเกษตร,ปัญหาภัยธรรมชาติ และโรคระบาด ตลอดจนความเสี่ยงด้านแบบแผนการผลิต เป็นต้น


เหตุนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจึงได้พระราชทานพระราชดำริว่าด้วย “ทฤษฎีใหม่” เพื่อเป็นแนวทางหรือหลักการในการบริหารการจัดการที่ดินและน้ำ เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุด ซึ่งมีองค์ประกอบหลักดังนี้

  1. ที่ดิน

  2. พืชเกษตร

  3. น้ำ


การบริหารการจัดการองค์ประกอบหลัก ทั้ง 3 ประการตามหลัก “ทฤษฎีใหม่” ให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้นมีความสอดคล้องกับหลักคำสอนในศาสนาอิสลามดังนี้


1) การฟื้นฟูที่ดินรกร้าง คือการที่มุสลิมมุ่งไปยังที่ดินรกร้างซึ่งมิใช่กรรมสิทธิ์ของผู้หนึ่งผู้ใด แล้วมุสลิมผู้นั้นก็พัฒนาที่ดินให้เกิดประโยชน์ด้วยการปลูกไม้ยืนต้น หรือสร้างอาคารหรือขุดบ่อน้ำเอาไว้ใช้สอย ที่ดินผืนนั้นย่อมตกเป็นกรรมสิทธิ์ของผู้นั้น ทั้งนี้มีหลักฐานจากอัล-หะดีษระบุว่า :

مَنْ أَحْيَاأَرْضًا مَيِّتَةً فَهَىَ لَه

“ผู้ใดทำให้ผืนแผ่นดินที่ตายไปแล้วมีชีวิต (คือการพัฒนามัน) ผืนแผ่นดินนั้นย่อมเป็นสิทธิของเขา”

(รายงานโดย อะฮฺหมัด และติรมีซี)


และอัลหะดีษที่ระบุว่า :

مَنْ أَعْمَرَ أَرْضًا لَيْسَتْ لأَحَدٍ فَهُوَ أَحَقُّ بِهَا

“ผู้ใดพัฒนาผืนดินหนึ่งซึ่งมิใช่กรรมสิทธิ์ของผู้ใดให้มีความเจริญ เขาผู้นั้นย่อมมีสิทธิต่อที่ดินผืนนั้น”

(รายงานโดย บุคอรี)


เมื่อการพัฒนาที่ดินที่รกร้างและ ไม่มีผู้ใดครอบครองกรรมสิทธิ์เป็นสิ่งที่อนุมัติตามหลักคำสอนของศาสนา การพัฒนาที่ดินซึ่งอยู่ในกรรมสิทธิ์ครอบครองของผู้เป็นเจ้าของที่ดินก็ย่อม เป็นสิ่งที่สมควรกว่า ทั้งนี้เพื่อให้ที่ดินที่ครอบครองอยู่นั้นเกิดประโยชน์สูงสุด


2) การเพาะปลูกพืชเกษตร ไม่ว่าจะเป็นธัญพืช จำพวก ข้าว หรือไม้ผลหรือไม้ล้มลุกตลอดจนพืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่ศาสนาส่งเสริม เพราะนอกเหนือจากประโยชน์ในการบริโภค การใช้สอย และการจำหน่ายเป็นสินค้าแล้ว ยังถือว่าเป็นสิ่งที่นำมาซึ่งผลานิสงค์อันมากมายอีกด้วย ดังปรากฏในอัลหะดีษที่ระบุว่า :

مَا مِنْ مُسْلِمٍ يَغْرِسُ غَرْسًا أويَزْ رَ عُ زَرْعًا ، فَيَأكُلُ مِنْهُ طَيْرٌأو إنسَانٌ إلاَّ كَانَ له به صدقَةٌ

“ไม่ว่า มุสลิมคนใดได้ปลูกต้นไม้หรือทำการเพาะปลูกแล้วมีนกมากิน หรือแม้ว่ามนุษย์ก็ตามนอกเสียจากย่อมปรากฏเป็นการทำทานสำหรับเขาผู้นั้น แล้ว”

(รายงานโดย บุคอรีและมุสลิม)


และมีอัล-หะดีษระบุว่า :

اِلْتَمِسُواالرِّزْقَ فى خَبَايَاالأرْضِ

“พวกท่านจงแสวงหาปัจจัยยังชีพในสิ่งที่ถูก ปกปิดไว้ของผืนดิน”

(รายงานโดย บุคอรี)


3) การจัดแบ่งที่ดินตามทฤษฎีใหม่นั้นจะมีการแบ่งที่ดินออกเป็นหลายส่วน คือ ส่วนแรก ขุดสระน้ำ ส่วนที่สองทำนาข้าว ส่วนที่สามปลูกพืชไร่ พืชสวน และสมุนไพร และส่วนสุดท้าย เป็นที่อยู่อาศัยและอื่นๆโดยมีอัตราส่วนแตกต่างกันตามความเหมาะสม ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพของพื้นที่ดิน ปริมาณน้ำฝน และสภาพแวดล้อม เป็นต้น

ในคัมภีร์อัลกุรฺอานได้ระบุเอาไว้ถึงหลักการข้อนี้ว่า

وَآيَةٌ لَّهُمُ الْأَرْضُ الْمَيْتَةُ أَحْيَيْنَاهَا وَأَخْرَجْنَا مِنْهَا حَبًّا فَمِنْهُ يَأْكُلُونَ وَجَعَلْنَا فِيهَا جَنَّاتٍ مِن نَّخِيلٍ وَأَعْنَابٍ وَفَجَّرْنَا فِيهَا مِنْ الْعُيُونِ لِيَأْكُلُوا مِن ثَمَرِهِ وَمَا عَمِلَتْهُ أَيْدِيهِمْ أَفَلَا يَشْكُرُونَ

“และ สัญญาณหนึ่งสำหรับพวกเขานั้นคือ ผืนแผ่นดินที่แห้งแล้งเราได้ให้มันมีชีวิตขึ้นมาอีกครั้งและเราได้นำเมล็ด พืชออกมาจากมัน แล้วพวกเขาก็บริโภคส่วนหนึ่งจากมัน และเราได้ทำให้มีเรือกสวนจากอินทผาลัมและองุ่นในที่ดินนั้นและเราได้ทำให้มี ตาน้ำพุ่งออกมาในผืนดินนั้น เพื่อที่พวกเขาจะได้กินผลไม้ของมันตลอดจนสิ่งที่มือของพวกเขาได้กระทำมัน แล้วพวกเขาจะไม่ขอบคุณกระนั้นหรือ?”

(สูเราะฮฺ ยาซีน อายะฮฺที่ 33-35)


จะเห็นได้ว่าในบรรดาอายะฮฺข้างต้น ได้ระบุถึงการพัฒนาที่ดินให้มีผลประโยชน์เกิดขึ้นตามกระบวนการทางธรรมชาติ ที่พระองค์อัลลอฮฺทรงกำหนดเอาไว้ โดยระบุถึงแหล่งน้ำในการเกษตร 2 ประการ คือ น้ำฝนและตาน้ำอันเป็นต้นกำเนิดของลำธารและแม่น้ำลำคลอง, การเพาะปลูกโดยใช้การหว่านเมล็ดพันธุ์พืช เพื่อใช้เป็นอาหารหลักในการบริโภคและการปลูกไม้ผลแบบสวนผสม (อินทผาลัม-องุ่น) ซึ่งในคัมภีร์อัลกุรฺอานได้กล่าวถึงพันธุ์พืชชนิดต่างๆเอาไว้อย่างมากมาย ซึ่งมุสลิมสามารถนำมาเพาะปลูกได้ในที่ดินของตนตามความเหมาะสม


นอกจากนี้ ตามหลักการของทฤษฎีใหม่ยังได้ระบุถึงการเลี้ยงสัตว์ในที่ดินที่ถูกจัดแบ่ง อีกด้วย โดยให้ที่ดินส่วนแรก ซึ่งถูกขุดเป็นสระน้ำนั้น สามารถเลี้ยงปลาพันธุ์ต่างๆได้ ส่วนพื้นที่บนสระอาจสร้างเล้าไก่และบนขอบสระอาจปลูกไม้ยืนต้นที่ไม่ใช้น้ำ มากโดยรอบได้ในที่ดินส่วนสุดท้าย ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยและอื่นๆนั้น สามารถสร้างโรงเพาะเห็ด ปลูกพืชสวนครัว ไม้ดอกไม้ประดับ และทำคอกสัตว์ได้ ซึ่งสัตว์เลี้ยงที่ว่านี้ก็คือ แพะนม, แกะ, วัวนม เป็นต้น ซึ่งสามารถนำมูลของมันมาเป็นอาหารปลาในสระน้ำและทำปุ๋ยหมักก็ได้


ส่วน น้ำนมของสัตว์ก็สามารถใช้บริโภคในครอบครัวหรือจำหน่ายได้กรณีมีมากเกินความ ต้องการ อีกทั้งเนื้อของสัตว์ดังกล่าวยังเป็นแหล่งโปรตีนอีกด้วย ทั้งนี้การเลี้ยงสัตว์เพื่อใช้สอยงาน เช่นวัว ควาย หรือเพื่อใช้ในการบริโภคเป็นสิ่งที่ศาสนาอนุมัติ และส่งเสริมให้มุสลิมได้กระทำอีกด้วย ดังปรากฏในคัมภีร์ อัลกุรฺอาน ระบุว่า :


وَالأَنْعَامَ خَلَقَهَا لَكُمْ فِيهَا دِفْءٌ وَمَنَافِعُ وَمِنْهَا تَأْكُلُونَ وَلَكُمْ فِيهَا جَمَالٌ حِينَ تُرِيحُونَ وَحِينَ تَسْرَحُونَ وَتَحْمِلُ أَثْقَالَكُمْ إِلَى بَلَدٍ لَّمْ تَكُونُواْ بَالِغِيهِ إِلاَّ بِشِقِّ الأَنفُسِ إِنَّ رَبَّكُمْ لَرَؤُوفٌ رَّحِيمٌ

“และปศุ สัตว์ พระองค์ทรงสร้างมันสำหรับพวกท่านในปศุสัตว์นั้นมีความอบอุ่น (คือหนังและขนที่นำมาทำเครื่องนุ่งห่มให้ความอบอุ่น) และประโยชน์หลากหลายและส่วนหนึ่งจากมันนั้นพวกท่านได้บริโภค และสำหรับพวกท่านในฝูงปศุสัตว์นั้นคือความสวยงาม ขณะที่มันกลับจากทุ่งหญ้าและขณะที่มันออกสู่ทุ่งหญ้า และมัน (ปศุสัตว์) ได้แบกสัมภาระของพวกท่านไปยังเมืองที่ไม่ปรากฏว่าพวกท่านไปถึงเมืองนั้นเว้น แต่ด้วยความเหนื่อยยากลำบากใจ แท้จริงพระผู้อภิบาลของพวกท่านทรงเอ็นดูยิ่ง อีกทั้งทรงเมตตาเสมอ”

(สูเราะฮฺอัน-นะหฺลุ อายะฮฺที่ 5-7-)


และพระดำรัสที่ว่า :

وَإِنَّ لَكُمْ فِي الأَنْعَامِ لَعِبْرَةً نُّسْقِيكُم مِمَّا فِي بُطُونِهِ مِن بَيْنِ فَرْثٍ وَدَمٍ لَّبَنًا خَالِصًا سَآئِغًا لِلشَّارِبِينَ

“และแท้ จริงในปศุสัตว์นั้นย่อมมีข้อคิดที่น่าใคร่ครวญสำหรับพวกท่าน เราได้ให้พวกท่านดื่มจากสิ่งที่อยู่ในท้องของมันจากระหว่างมูลและเลือดเป็น น้ำนมบริสุทธิ์ เป็นโอชาแก่ผู้ดื่มทั้งหลาย”

(สูเราะฮฺอัน-นะหฺลุ อายะฮฺที่ 66)


กล่าวโดยสรุป การประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องซื่อสัตย์สุจริต โดยเฉพาะอาชีพเกษตรกรรมเป็นสิ่งที่ศาสนาอนุมัติและส่งเสริมให้กระทำ อีกทั้งการประกอบอาชีพเกษตรแบบพอเพียงตามทฤษฎีใหม่ ที่มีลักษณะผสมผสานระหว่างการเพาะปลูกอาหารหลัก การปลูกไม้ผล การทำเกษตรสวนผสมตลอดจนการเลี้ยงสัตว์ ล้วนแต่เป็นสิ่งที่อยู่ในกรอบที่ศาสนากำหนดวางเอาไว้


ท่าน นบี มุฮัมมัด (صلى الله عليه وسلم) ก็เคยเลี้ยงแพะแกะให้แก่ชาวนครมักกะฮฺ ท่านนบี มูซา (อ.ล) ก็เคยเลี้ยงปศุสัตว์ให้แก่พ่อตาของท่าน ท่านนบี ดาวูด (อ.ล) ก็มีอาชีพเป็นช่างตีเหล็ก ประดิษฐ์เกราะและโล่ ท่านนบี อาดัม (อ.ล) เป็นผู้มีอาชีพเพาะปลูกและทำนาไถหว่าน,ท่านนบีนัวะฮฺ (อ.ล) เป็นช่างไม้ และท่านนบีอิดรีส (อ.ล) เป็นช่างเย็บผ้า (รายงานโดย อัล-หากิม) การประกอบอาชีพจึงเป็นแบบฉบับของบรรดาศาสดาทั้งหลายที่มุสลิมควรถือเอาเป็น แบบอย่างในการดำเนินชีวิต



3. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง

แนวพระราชดำริของในหลวงข้อนี้สอดคล้องกับหลักคำสอนของศาสนาอิสลามที่มีระบุเอาไว้ในคัมภีร์อัลกุรฺอานและอัล-หะดีษ ดังนี้

พระองค์อัลลอฮฺ ทรงดำรัสว่า :

يَا أَيُّهَا الَّذِينَ آمَنُواْ لاَ تَأْكُلُواْ أَمْوَالَكُمْ بَيْنَكُمْ بِالْبَاطِلِ إِلاَّ أَن تَكُونَ تِجَارَةً عَن تَرَاضٍ مِنكُمْ وَلاَ تَقْتُلُواْ أَنفُسَكُمْ إِنَّ اللّهَ كَانَ بِكُمْ رَحِيمًا وَمَن يَفْعَلْ ذَلِكَ عُدْوَانًا وَظُلْمًا فَسَوْفَ نُصْلِيهِ نَارًا

“โอ้บรรดา ศรัทธาชนทั้งหลาย พวกท่านอย่าได้กินทรัพย์สินของพวกท่าน ระหว่างพวกท่านโดยมิชอบ ยกเว้นที่เป็นการค้าขายอันเกิดจากความพึงพอใจจากพวกท่าน และพวกท่านอย่าได้ฆ่าตัวของพวกท่านทั้งหลาย แท้จริงพระองค์อัลลอฮฺนั้นทรงเมตตาต่อพวกท่านเสมอ และผู้ใดกระทำสิ่งดังกล่าวโดยละเมิดและอธรรม เราจะนำเขาผู้นั้นเขาสู่นรกอเวจี”

(สูเราะฮฺ อัน-นิสาอฺ อายะฮฺที่ 29-30)


อายะฮฺนี้ได้กำหนดเงื่อนไขในบัญญัติว่าด้วยการค้าขายเอาไว้ 2 ประการคือ

  1. การค้าขายนี้ต้องเกิดจากความพึงพอใจระหว่างสองฝ่ายที่ตกลงค้าขายกัน

  2. การได้รับประโยชน์ของฝ่ายหนึ่งจะต้องไม่ตั้งอยู่บนความเสียหายหรือขาดทุนของอีกฝ่ายหนึ่ง



ดังนั้น ศาสนาอิสลามไม่อนุญาตให้ศาสนิกชนทำการแสวงหาทรัพย์สินหรือผลกำไรในการค้าโดย ไม่คำนึงถึงวิธีการและแนวทางที่ได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น หากแต่อิสลามได้จำแนกแยกแยะเอาไว้ว่า แนวทางใดเป็นสิ่งที่ถูกต้องตามศาสนบัญญัติ และวิธีการใดไม่ถูกต้องตามศาสนบัญญัติในการแสวงหาปัจจัยยังชีพ


โดย ตั้งอยู่บนหลักมูลฐานที่ว่า แนวทางและวิธีการในการแสวงหาทรัพย์สินใดๆ ก็ตามที่บุคคลได้รับประโยชน์บนความสูญเสียหรือขาดทุนของผู้อื่น สิ่งนั้นย่อมเป็นสิ่งที่ต้องห้าม (หะรอม) และแนวทางหรือวิธีการใดที่ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์โดยมีความพึงพอใจ ระหว่างกันและเป็นธรรม สิ่งนั้นย่อมเป็นสิ่งที่อนุมัติตามศาสนบัญญัติ ซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ จะกล่าวถึงต่อไปในหมวดที่ว่าด้วยเรื่องการค้าขายและการแลกเปลี่ยน


กล่าวโดยสรุป ก็คือ การค้าขายใดๆก็ตามที่มีการเอารัดเอาเปรียบ, อธรรม, หลอกลวง การฉวยโอกาส และการทำให้สิ่งต้องห้ามตามหลักการของศาสนาแพร่หลายย่อมเป็นสิ่งต้องห้าม ในขณะเดียวกันผู้ใดทำการค้าขายในสิ่งที่อนุมัติด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ผู้นั้นย่อมได้รับฐานันดรอันสูงส่ง ดังปรากฏในอัล-หะดีษระบุว่ะ :


التَّاجِرُ الأَمِيْنُ الصَّدُوْقُ مَعَ الشُّهَدَاءِ يَوْمَ القِيَامَةِ

“ผู้ค้าขายที่มีความสุจริต ซื่อสัตย์ ย่อมได้อยู่พร้อมกับบรรดาผู้พลีชีพเพื่อปกป้องศาสนาในวันกิยามะฮฺ”

(รายงานโดย อิบนุ มาญะฮฺ และอัลหากิม)


การค้าขายและการทำธุรกิจในปัจจุบันที่มุ่งเน้นการหากำไรและ กอบโกยทรัพยากรของชาติเพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือกลุ่มธุรกิจที่มีอำนาจและ โอกาสโดยขาดคุณธรรมและหลักจริยธรรมเป็นสิ่งที่อิสลามประณาม เพราะเป็นความอธรรม (อัซ-ซุลฺม์) ซึ่งอัลกุรฺอานได้คาดโทษเอาไว้อย่างรุนแรงว่า:

وَمَن يَظْلِم مِنكُمْ نُذِقْهُ عَذَابًا كَبِيرًا

“และผู้ใดก็ตามจากพวกท่านได้อยุติธรรม เราจะให้เขาผู้นั้นได้ลิ้มรสการลงทัณฑ์อันใหญ่หลวง”

(สูเราะฮฺอัล-ฟุรกอน อายะฮฺที่ 19)


และมีปรากฏในอัลหะดีษระบุว่า

اتقُو االظُّلم فإنَّ الظُّلمَ ظُلُمَا تٌ يَوْمَ القِيَامة

“พวกท่านจงเกรงกลัวความอธรรม เพราะแท้จริงความอธรรมนั้นคือบรรดาความมืดมนในวันกิยามะฮฺ”

(รายงานโดยอะฮฺหมัดและอัล-หากิม)

4. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากด้วยการขวนขวายใฝ่หา ความรู้ให้มีรายได้เพิ่มพูนขึ้นจนถึงขั้นพอเพียงเป็นเป้าหมายสำคัญ

พระราชดำริข้อนี้สอดคล้องกับหลักคำสอนของอิสลามที่มุ่งเน้น ให้ผู้ศรัทธาทุ่มเทในการทำงานตามสาขาอาชีพของตน ดังที่มีพระดำรัสในอัลกุรฺอานระบุว่า

وَقُلِ اعْمَلُواْ فَسَيَرَى اللهُ عَمَلَكُمْ وَرَسُولُهُ وَالْمُؤْمِنُونَ الآية

“และจง กล่าวเถิดว่า พวกท่านจงทำงานเถิด แล้วต่อไปพระองค์อัลลอฮฺ ตลอดจนศาสนทูตของพระองค์ และมวลผู้ศรัทธาจักได้ประจักษ์ถึงงานของพวกท่าน”

(สูเราะฮฺอัต-เตาบะฮฺ อายะฮฺที่ 105)


และการทำงานที่ประณีตละเอียดลออเป็นสิ่งที่พระองค์อัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) ทรงโปรดปรานดังปรากฏในอัลหะดีษที่ระบุว่า

إنَّ اللهُ يَحِبُّ إذاعَمِلَ أَحَدُكُمْ عَمَلاً أَنْ يُتْقِنَه

“แท้จริงพระองค์อัลลอฮฺทรงโปรดปรานเมื่อคนหนึ่งในหมู่พวกท่านได้กระทำงานหนึ่งในการที่เขามีความประณีต”

(รายงานโดยอบูยะอฺลา)


งานที่ประณีตก็คือการทำงานที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความรู้ การวางแผนอย่างมีหลักมีเกณฑ์ โดยมีเป้าหมายในการผลิตผลงานที่ยังประโยชน์แก่สังคมส่วนรวมและยกระดับการ ครองชีพให้พอเพียงต่อความต้องการในการดำรงชีพ การประกอบอาชีพทุกอย่าง จำต้องอาศัยความรู้และทักษะที่เกิดจากการฝึกฝนและการสั่งสมประสบการณ์ ท่านอิหม่ามอัชชาฟิอีย์ (ร.ฮ.) ได้กล่าวว่า


مَنْ أَرَادَالدُّنْيَا فَعَلَيْهِ بِالْعِلْمِ وَمَنْ أَرَادَالآخِرَةَ فعلَيْهِ بالعِلْمِ

“ผู้ใดปรารถนาโลกนี้ ผู้นั้นต้องเรียนรู้วิชา และผู้ใดปรารถนาโลกหน้า ผู้นั้นก็ต้องเรียนรู้วิชา”

(กิตาบอัล-มัจญฺมูอฺ เล่มที่ 1 –คำนำ-)


ดังนั้นมุสลิมต้องเป็นผู้ใฝ่รู้และรู้จักเพิ่มพูนความรู้ อยู่ตลอดเวลา ซึ่งการเรียนรู้เพื่อเพิ่มรายได้และการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าย่อม เป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับฐานะของตน ความยากจนที่เกิดขึ้นกับผู้คนในการยกระดับฐานะของตน ความยากจนที่เกิดขึ้นกับผู้คนในสังคมนั้นถึงแม้จะเป็นปรากฏการณ์ที่มีอยู่ จริง


แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ให้ผู้ศรัทธายอมจำนนต่อความยากจนนั้น โดยไม่คิดที่จะเปลี่ยนแปลงหรือคิดที่จะสร้างฐานะที่ดีกว่าที่เป็นอยู่ การที่บุคคลมีอันจะกินและสำนึกในบุญคุณของพระองค์อัลลอฮฺย่อมเป็นสิ่ง ประเสริฐและมีผลานิสงค์เท่าเทียมกับผู้ถือศีลอดที่มีความอดทน และบุคคลจะมีสถานภาพในการดำรงชีวิตที่ดีขึ้นก็ต้องมีความเพียร และมุ่งมานะในการทำงาน และงานที่ดีและมีคุณภาพก็ต้องเกิดจากความรู้ความเข้าใจและความชำนาญการ โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันที่มีการแข่งขันในเรื่องค่าครองชีพสูง ความรู้จึงเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งยวดสำหรับการประกอบอาชีพและการบริหาร การจัดการต้นทุนของปัจเจกบุคคลให้สามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้

5. ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา

แนวพระราชดำริในการดำเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงข้อ นี้ ถือเป็นหัวใจสำคัญที่สุด เพราะหากขาดข้อนี้เพียงข้อเดียว ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก็จะล้มเหลวและเป็นเพียงทฤษฎีที่ไม่สามารถประยุกต์ใช้ ได้จริงทั้งนี้ บุคคลจะมีความประหยัดและลดละความฟุ่มเฟือยได้ก็ต่อเมื่อบุคคลนั้นมีศรัทธา และความเชื่อมั่นต่อแนวทางและพยายามปฏิบัติตนให้เป็นไปตามแนวทางนั้น ซึ่งหลักคำสอนของศาสนาที่สอนให้ประพฤติดี และหลีกห่างความชั่วย่อมเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลสูงสุดในการควบคุมพฤติกรรมของ บุคคล มีปรากฏในอัลหะดีษระบุว่า

قَدْأَفْلَحَ مَنْ أَسْلَمَ ورُزِقَ كَفَافًا ، وقنَّعَهُ الله بِمَاآتَاهُ

“แน่แท้ ผู้ที่ยอมจำนนตามวิถีอิสลามย่อมได้รับความสำเร็จ อีกทั้งเขาได้รับปัจจัยยังชีพที่พอเพียง และอัลลอฮฺได้ให้เขาผู้นั้นมีความพึงพอใจต่อสิ่งที่พระองค์ทรงนำมาให้แก่ เขา”

(รายงานโดยบุคอรีและมุสลิม)

ในอัลหะดีษบทนี้มีหลักคำสอนอยู่ 3 ประการคือ

1. การประพฤติตนในฐานะอิสลามิกชนด้วยการละเลิกสิ่งที่ฝ่าฝืนและขัดต่อหลักคำสอน ของศาสนาและมุ่งปฏิบัติคุณงามความดีที่ศาสนามีคำสอนสั่งใช้

2. การมีปัจจัยยังชีพที่พอเพียงต่อความต้องการ

3. การมีความพึงพอใจในสิ่งที่ตนมีอยู่ ไม่มักมาก ไม่โลภ หรือแสวงหาสิ่งที่เกินความจำเป็น

ทั้ง 3 ประการเป็นเงื่อนไขที่ทำให้บุคคลได้รับความสำเร็จทั้งในโลกนี้และโลกหน้า


การที่บุคคลยึดมั่นในหลักคำสอนของศาสนาด้วยการประพฤติดีและ ละเว้นความชั่ว ย่อมเป็นบ่อเกิดของคุณธรรมในการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพ ผู้ที่มีศาสนาประจำใจและเคร่งครัดในการปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนาจะไม่ ฟุ่มเฟือยและสุรุ่ยสุร่ายในการใช้จ่าย แต่จะรู้จักความพอดีและความเหมาะสมในการใช้จ่าย รู้จักทำมาหาเลี้ยงชีพ ไม่เกียจคร้าน และรู้จักบาปคุณโทษ ไม่ประกอบอาชีพที่ผิดต่อหลักศาสนบัญญัติ ไม่ฉ้อโกง หรือเอาเปรียบผู้อื่น แต่จะมีความสุจริตและซื่อสัตย์ รักในการเรียนรู้และสั่งสมประสบการณ์อยู่ตลอดเวลา จึงสามารถกล่าวได้ว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงกำหนดวางเอาไว้เป็นหลัก 5 ประการนั้นมีความสอดคล้องกับหลักคำสอนของศาสนาอิสลามโดยรวม

อ.อาลี เสือสมิง

กฎหมายอิสลามเบื้องต้น : ความเป็นมาและความสำคัญของกฎหมายอิสลาม

บทความ - กฎหมายอิสลามเบื้องต้น

นัยของหลักนิติธรรมอิสลาม (อัชชะรีอะฮฺ อัลอิสลามี่ยะฮฺ)
และกฎหมายอิสลาม (อัลฟิกฮุ้ล อิสลามีย์)

หลักนิติธรรมอิสลาม (อัชชะรีอะฮฺ อัลอิสลามียะฮฺ) หมายถึง สิ่งซึ่งพระองค์อัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) ได้ทรงบัญญัติสิ่งนั้นเอาไว้แก่มวลบ่าวของพระองค์จากบรรดาหลักการทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นบรรดาหลักการที่เกี่ยวเนื่องกับหลักการยึดมั่น (อัลอะกีดะฮฺ) หรือหลักจริยธรรม (อัลอัคลาก) หรือการจัดระเบียบสิ่งที่ออกมาจากมนุษย์ทั้งวจีกรรม, กายกรรมและการทำธุรกรรมทั้งหลาย (ดร.ซูฟีย์ หะซัน อบูฏอลิบ ; การบังคับใช้กฎหมายอิสลามในกลุ่มประเทศอาหรับ, หน้าที่ 15 พิมพ์ครั้งที่ 4 (ค.ศ.1995) สำนักพิมพ์อันนะฮฺเฎาะฮฺ อัลอะรอบียะฮฺ, ไคโร, อียิปต์)


กฎหมายอิสลาม (อัลฟิกฮุล อิสลามีย์) หมายถึง ประมวลหลักการปฏิบัติต่าง ๆ ตามศาสนบัญญัติซึ่งจัดระเบียบพฤติกรรม วจีกรรมและการทำธุรกรรมทั้งหลายของบรรดาผู้ที่เข้าอยู่ในเกณฑ์บังคับของ ศาสนา โดยมีที่มาจากคัมภีร์อัลกุรฺอานและสุนนะฮฺตลอดจนบรรดาหลักฐานทางศาสนบัญญัติ อื่น ๆ (อ้างแล้ว หน้า 16)

นัยของหลักนิติธรรมอิสลามจึงมีความครอบคลุมและกว้างกว่านัยของกฎหมายอิสลาม เนื่องจากหลักนิติธรรมอิสลามจะประมวลถึงหลักการยึดมั่น (อัลอะกีดะฮฺ) และหลักจริยธรรม (อัลอัคลาก) ตลอดจนประมวลกฎหมายอิสลามเอาไว้ด้วย จึงกล่าวได้ว่า กฎหมายอิสลามเป็นส่วนหนึ่งของหลักนิติธรรมอิสลามโดยรวม


กฎหมายอิสลาม แบ่งออกเป็น 2 หมวดใหญ่ ๆ คือ

1. หมวดการประกอบศาสนกิจ (อัลอิบาดาตฺ) ซึ่งจะกล่าวถึงบรรดาหลักการเฉพาะที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ของปัจเจกบุคคลกับ พระองค์อัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) อาทิเช่น การละหมาด, การจ่ายซะกาต, การถือศีลอด และการประกอบพิธีฮัจญ์ เป็นต้น


2. หมวดปฏิสัมพันธ์ (อัลมุอามะลาตฺ) อันหมายถึงบรรดาหลักการเฉพาะที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ด้วยกัน อาทิเช่น การซื้อขาย, การทำธุรกรรมในรูปแบบต่าง ๆ การสมรส และการตัดสินข้อพิพาท เป็นต้น

ในส่วนของนักวิชาการสังกัดมัซฮับอัชชาฟิอีย์ ได้แบ่งหมวดของกฎหมายอิสลามออกเป็น 4 หมวด คือ

  1. หมวดการประกอบศาสนกิจ (อัลอิบาดาตฺ)

  2. หมวดปฏิสัมพันธ์ (อัลมุอามะลาตฺ)

  3. หมวดลักษณะอาญา (อัลอุกูบาตฺ)

  4. หมวดการสมรส (อัซซะวาจฺญ์) หรือกฎหมายครอบครัว (อะฮฺกาม – อัลอุสเราะฮฺ)


* จากสิ่งที่กล่าวมาข้างต้น ย่อมเป็นที่ประจักษ์ว่า ประเภทหมวดของกฎหมายอิสลามมีความครอบคลุมถึงเรื่องราวทางศาสนาและทางโลก ในขณะที่หลักนิติธรรมอิสลามตั้งอยู่บนหลักพื้นฐานของการจัดระเบียบที่ครอบ คลุมกิจกรรมทุกมิติของมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นมิติทางจิตวิญญาณ, จริยธรรม และวัตถุ


ที่มาของกฎหมายอิสลาม

บรรดาที่มาของกฎหมายอิสลามถูกเรียกว่า บรรดาหลักฐานทางศาสนบัญญัติ (อัลอะดิลละฮฺ อัชชัรฺอียะฮฺ) หรือ บรรดาหลักมูลฐาน (อัลอุซู้ล) ซึ่งนักกฎหมายอิสลามส่วนใหญ่มีความเห็นตรงกันว่ามี 4 ประการ คือ

1. อัลกุรฺอาน (อัลกิตาบ)

2. อัล-หะดีษ (อัส-สุนนะฮฺ)

3. อัล-อิจญ์มาอฺ (เรียกทั้ง 3 ประการนี้ว่า บรรดาหลักฐานอันเป็นตัวบทที่มีการรายงานถ่ายทอด (อัลอะดิลละฮฺ อันนักลียะฮฺ) และ

4. อัล-กิยาส (ประการที่ 4 นี้ถูกจัดอยู่ในหมวดบรรดาหลักฐานที่ใช้การวิเคราะห์ทางสติปัญญา (อัลอะดิลละฮฺ อัลอักลียะฮฺ) ซึ่งนักกฎหมายอิสลามได้ผนวกประเภทของบรรดาหลักฐานในหมวดนี้เอาไว้แตกต่างกัน อาทิเช่น อัลอิสติฮฺซาน, อัลอิสติสหาบฺ, อัลอุรฟ์ และอัลมะซอลิฮฺ อัลมุรซะละฮฺ เป็นต้น)


นักวิชาการเรียกที่มาของกฎหมายอิสลามทั้ง 4 ประการนี้ว่า บรรดาหลักฐานในขั้นปฐมภูมิ (อัลอะดิลละฮฺ อัลอะซาซียะฮฺ) และเรียกประเภทอื่น ๆ ที่ถูกจัดอยู่ในหมวดของบรรดาหลักฐานที่ใช้การวิเคราะห์ทางสติปัญญาว่า บรรดาหลักฐานสืบเนื่อง (อัลอะดิลละฮฺ อัตตะบะอียะฮฺ) หรือ บรรดาหลักฐานในขั้นทุติยภูมินั่นเอง


อัลกุรฺอาน (กิตาบุลลอฮฺ) คือ พระดำรัสของอัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) ที่ได้ประทานลงมาให้ท่านนบีมุฮัมมัด (صلى الله عليه وسلم) ด้วยภาษาอาหรับเพื่อเป็นปาฏิหาริย์ด้วยบทที่สั้นที่สุด พระดำรัสนั้นถูกบันทึกอยู่ในคัมภีร์ซึ่งถูกถ่ายทอดแบบมุตะวาติรและเป็นอิบา ดะฮฺด้วยการอ่าน เริ่มต้นด้วยบทอัลฟาติหะฮฺ และจบลงด้วยบทอัน-นาส (อัล-อามิดีย์ ; อัลอิฮฺกาม 1/82) อัลกุรฺอานมี 114 บท (สูเราะฮฺ) และแบ่งออกเป็น 30 ภาค (ญุซอฺ) ถือเป็นแม่บทของกฎหมายอิสลาม และเป็นที่มาของบทบัญญัติและข้อบังคับต่าง ๆ ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ดังนี้ คือ

1. บรรดาหลักความเชื่อ

2. บรรดาหลักจริยธรรม

3. บรรดาหลักปฏิบัติซึ่งครอบคลุมทั้งหมวดการประกอบศาสนกิจ (อิบาดาตฺ) และหมวดปฏิสัมพันธ์ (มุอามะลาตฺ) โดยหมวดปฏิสัมพันธ์ (มุอามะลาต) นี้แบ่งออกเป็น หลักการครองเรือน, กฎหมายแพ่งและพาณิชย์, กฎหมายลักษณะอาญา, กฎหมายธรรมนูญการปกครอง, หลักวิธีพิจารณาคดีความทั้งแพ่งและอาญา หลักวิเทโศบายหรือกฎหมายระหว่างประเทศ และหลักเศรษฐศาสตร์และการคลัง เป็นต้น (ดร.วะฮฺบะฮฺ อัซซุฮัยลีย์ ; อุศูลุลฟิกฮฺ อัลอิสลามีย์ เล่มที่ 1 หน้า 432-439)


อัล-หะดีษ (อัส-สุนนะฮฺ) หมายถึง คำพูด การกระทำ และการยอมรับของท่านนบีมุฮัมมัด (صلى الله عليه وسلم) ซึ่งเป็นคำสอนของท่านที่ได้มีการจดจำ บันทึก ถ่ายทอดโดยผู้ใกล้ชิดและผู้เกี่ยวข้อง เพื่อใช้ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันมา อัล-หะดีษเป็นแม่บทของกฎหมายอิสลามในลำดับที่ 2 รองจากอัล-กุรอาน

อนึ่งนักกฎหมายอิสลามมักเรียกที่มาของกฎหมายอิสลามในลำดับที่ 2 นี้ว่า อัส-สุนนะฮฺ เนื่องจากมีนัยกว้างและครอบคลุมมากกว่าคำว่า อัล-หะดีษ โดยแบ่งประเภทของอัส-สุนนะฮฺ ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1. อัส-สุนนะฮฺที่เป็นคำพูด คือ บรรดาอัล-หะดีษที่ท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) ได้กล่าวเอาไว้ในโอกาสและเป้าหมายต่าง ๆ อาทิเช่น หะดีษที่ว่า : “…..إنَّمَاالأَعْمَالُ بِالنِّيَّاتِ” (อันที่จริงการปฏิบัติทั้งหลายขึ้นอยู่กับการตั้งเจตนา” เป็นต้น

2. อัส-สุนนะฮฺที่เป็นการกระทำ คือบรรดาการกระทำที่ท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) ได้ปฏิบัติเอาไว้ อาทิเช่น การปฏิบัติละหมาด 5 เวลา, การประกอบพิธีฮัจญ์, การตัดสินคดีความโดยใช้พยานและการสาบาน เป็นต้น

3. อัส-สุนนะฮฺที่เป็นการรับรอง คือ การที่ท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) นิ่งเงียบจากการปฏิเสธหรือคัดค้านคำพูดหรือการกระทำที่เกิดขึ้นเบื้องหน้า ท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) หรือเกิดขึ้นในยุคสมัยของท่านและท่านรับรู้ถึงคำพูดหรือการกระทำนั้นโดยท่าน นบี (صلى الله عليه وسلم) เห็นด้วยหรือแสดงความยินดีหรือถือว่าคำพูดหรือการกระทำที่เกิดขึ้นนั้นเป็น สิ่งที่ดีงาม เป็นต้น (อุศูลุลฟิกฮฺ อัลอิสลามีย์ เล่มที่ 1 หน้า 450)


ในส่วนของอัส-สุนนะฮฺที่เป็นการกระทำของท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) นั้นนักวิชาการแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ

1. การกระทำต่าง ๆ อันเป็นอัธยาศัยของท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) อาทิเช่น การยืน, การนั่ง, การรับประทานและการดื่ม เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ไม่มีข้อขัดแย้งว่าเป็นสิ่งที่อนุมัติสำหรับท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) และสำหรับประชาชาติของท่าน แต่ไม่ถือเป็นสิ่งที่จำเป็นต้องปฏิบัติในทัศนะของปวงปราชญ์

2. การกระทำต่าง ๆ ซึ่งมีการยืนยันว่าเป็นกรณีเฉพาะของท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) เท่านั้น อาทิเช่น การถือศีลอดติดต่อกัน การอนุญาตให้มีภรรยาได้มากกว่า 4 คนในคราวเดียวกัน เป็นต้น การกระทำต่าง ๆ ชนิดนี้เป็นกรณีพิเศษเฉพาะท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) และไม่ต้องถือตาม

3. การกระทำต่าง ๆ ที่นอกเหนือจาก 2 ประการแรก ซึ่งมีเป้าหมายในการวางข้อบัญญัติทางศาสนา การกระทำดังกล่าวเป็นสิ่งที่ถูกเรียกร้องให้มีการปฏิบัติตามโดยมีลักษณะแตก ต่างกันไปว่าเป็นสิ่งที่จำเป็นหรือส่งเสริมหรืออนุญาต เป็นต้น (อ้างแล้ว เล่มที่ 1 หน้า 478)


อัล-อิจญ์มาอฺ หมาย ถึง การเห็นพ้องกันของบรรดานักปราชญ์ทางศาสนา (มุจญ์ตะฮิด) จากประชาชาติของท่านนบีมุฮัมมัด (صلى الله عليه وسلم) ในข้อบัญญัติทางศาสนาภายหลังการเสียชีวิตของท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) ในยุคสมัยหนึ่งจากบรรดายุคสมัยต่าง ๆ (อ้างแล้ว เล่มที่ 1 หน้า 490)

อัล-อิจญ์มาอฺ มี 2 ชนิดคือ

1. การเห็นพ้องโดยชัดเจน (อิจญ์มาอฺ-ซ่อรีฮฺ) คือ การที่บรรดานักปราชญ์ทางศาสนามีทัศนะความเห็นทั้งคำพูดและการกระทำพ้องกัน ต่อข้อชี้ขาดในประเด็นข้อปัญหาหนึ่งที่เจาะจงแน่นอน อาทิเช่น มีการร่วมชุมนุมของบรรดานักปราชญ์ในสถานที่แห่งหนึ่ง นักปราชญ์แต่ละคนได้นำเสนอความเห็นของตนอย่างชัดเจนในข้อปัญหานั้น ๆ และทัศนะของทุกคนก็พ้องกันต่อข้อชี้ขาดของปัญหานั้น หรือการที่มีนักปราชญ์ผู้หนึ่งตอบปัญหาศาสนาเอาไว้ด้วยทัศนะหนึ่ง แล้วปรากฏว่าการตอบปัญหาศาสนาจากนักปราชญ์ผู้อื่นพ้องตรงกันในข้อชี้ขาดนั้น ปวงปราชญ์ถือว่า อัล-อิจญ์มาอฺชนิดนี้เป็นหลักฐานทางศาสนา

2. การเห็นพ้องโดยนิ่งเงียบ (อิจมาอฺ-สุกูตีย์) คือ การที่นักปราชญ์ทางศาสนาบางท่านในยุคสมัยหนึ่งได้กล่าวคำพูดเอาไว้ในประเด็น ข้อปัญหาหนึ่ง และนักปราชญ์ผู้อื่นที่อยู่ร่วมสมัยนิ่งเงียบหลังจากที่รับรู้ถึงคำพูดนี้ โดยไม่มีการปฏิเสธหรือคัดค้าน อัล-อิจญ์มาอฺชนิดนี้นักนิติศาสตร์มีความเห็นต่างกันในการถือเป็นหลักฐานทาง ศาสนา (อ้างแล้ว เล่มที่ 1 หน้า 552)


อัล-กิยาส หมาย ถึง การนำข้อปัญหาที่ไม่มีตัวบทระบุถึงข้อชี้ขาดทางศาสนาไปเปรียบเทียบกับข้อ ปัญหาที่มีตัวบทระบุถึงข้อชี้ขาดทางศาสนาเอาไว้แล้ว เนื่องจากทั้ง 2 ข้อปัญหานั้นมีเหตุผลในข้อชี้ขาดร่วมกัน (มิรอาตุ้ลอุศูล 2/275)

องค์ประกอบหลักของอัล-กิยาสมี 4 ประการคือ

(1) หลักมูลฐาน (อัล-อัศลุ้) หมายถึง ตำแหน่งของข้อชี้ขาดซึ่งได้รับการยืนยันด้วยตัวบทหรืออัล-อิจญ์มาอฺ หรือหมายถึง ตัวบทที่บ่งชี้ถึงข้อชี้ขาดนั้น

(2) ข้อปลีกย่อย (อัล-ฟัรอุ้) คือตำแหน่งที่ไม่มีตัวบทหรืออิจญ์มาอฺระบุข้อชี้ขาดเอาไว้

(3) คุณลักษณะร่วมกันระหว่างหลักมูลฐาน (อัล-อัศลุ้) และข้อปลีกย่อย (อัลฟัรอุ้) คือเหตุผล (อัล-อิลละฮฺ)

(4) ข้อชี้ขาดของหลักมูลฐาน (ฮุกมุ้-อัลอิศฺล์)


ตัวอย่าง

ข้อ ชี้ขาดของไวน์คือเป็นที่ต้องห้าม (หะรอม) เนื่องจากข้อชี้ขาดของไวน์ไม่มีตัวบทระบุชี้ชัดเอาไว้ ไวน์จึงเป็นข้อปลีกย่อย (อัล-ฟัรอุ้) ในขณะที่สุรามีตัวบทบ่งชี้อย่างชัดเจนว่าเป็นสิ่งต้องห้าม (หะรอม) สุราจึงเป็นหลักมูลฐาน (อัล-อัศลุ้) เหตุผลที่สุราเป็นที่ต้องห้ามก็คือการทำให้มึนเมา, การทำให้มึนเมานี้จึงถือเป็นเหตุผล (อัล-อิลละฮฺ) อันเป็นคุณลักษณะร่วมกันระหว่างสุราและไวน์ จึงได้ข้อชี้ขาดว่า ไวน์เป็นสิ่งต้องห้าม (หะรอม) ตามข้อชี้ขาดของสุรานั่นเอง ซึ่งข้อชี้ขาดนี้เกิดจากการใช้หลักอัลกิยาส

หลักฐานที่บ่งชี้ว่า ที่มาทั้ง 4 ประการของกฎหมายอิสลามเป็นหลักฐานทางศาสนาคือ หะดีษที่มีรายงานมาว่า “ท่านรสูลฯได้กล่าวแก่มุอาซ บุตรญะบัล ขณะที่จะส่งเขาไปยังเมืองยะมันว่า : หากมีคดีความเกิดขึ้นท่านจะตัดสินอย่างไร? มุอาซตอบว่า : “ฉันจะตัดสินด้วยคัมภีร์ของอัลลอฮฺ” ท่านรสูลฯ กล่าวว่า : หากท่านไม่พบ (ข้อชี้ขาด) ในคัมภีร์ของอัลลอฮฺ ท่านจะตัดสินอย่างไร? มุอาซตอบว่า : “ฉันจะตัดสินด้วยสุนนะฮฺของศาสนทูตแห่งอัลลอฮฺ” ท่านรสูลฯ กล่าวว่า “หากท่านไม่พบในสุนนะฮฺของศาสนทูตแห่งอัลลอฮฺฯ ท่านจะตัดสินอย่างไร? มุอาซตอบว่า : “ฉันจะวินิจฉัยด้วยความเห็นของฉันโดยฉันจะไม่บกพร่องเลย” ท่านรสูลฯได้จับอกของท่านมุอาซแล้วกล่าวว่า : “การสรรเสริญทั้งมวลเป็นสิทธิแด่อัลลอฮฺ พระผู้ทรงเอื้ออำนวยให้ทูตของศาสนทูตแห่งอัลลอฮฺมีความคิดสอดคล้องกับสิ่ง ที่ศาสนทูตแห่งอัลลอฮฺพึงพอใจ” (รายงานโดยอะฮฺหมัด, อบูดาวูด, อัตติรมีซีย์, อิบนุอะดีย์, อัฏฏอบรอนีย์, อัดดารีมีย์และอัลบัยฮะกีย์เป็นหะดีษมุรสัล)


ความเป็นมาและพัฒนาการของกฎหมายอิสลาม

นักวิชาการได้แบ่งช่วงเวลาที่กฎหมายอิสลามได้มีการเปลี่ยนผ่านและพัฒนาการออกเป็น 4 ช่วงเวลาด้วยกัน ดังนี้

(1) ช่วงเวลาแห่งการเริ่มต้น ซึ่งครอบคลุมยุคสมัยของท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) โดยเริ่มต้นนับแต่การประกาศศาสนาอิสลาม (ค.ศ.610) และสิ้นสุดลงด้วยการเสียชีวิตของท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) (ฮ.ศ.11/ค.ศ.636)

ในช่วงเวลาดังกล่าว สาส์นแห่งอิสลามมิได้จำกัดอยู่เฉพาะด้านการชี้นำทางจิตวิญญาณ, จริยธรรมและการประกอบศาสนกิจเท่านั้นแต่ยังได้จัดระเบียบกิจกรรมของมนุษย์ใน ด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตในโลกนี้อีกด้วย ด้วยเหตุนี้ศาสนาอิสลามจึงได้ยกเลิกขนบธรรมเนียมและประเพณีของชาวอาหรับบาง ส่วนในด้านการครองเรือน การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลและความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐ


ที่มาของกฎหมายอิสลามในช่วงแรกนี้จำกัดอยู่ใน 2 ประการคือ คัมภีร์อัลกุรฺอาน และสุนนะฮฺทั้ง 2 ประการนี้ได้วางรากฐานสำหรับกฎหมายอิสลามในรูปของหลักมูลฐานต่าง ๆ โดยทั่วไปตลอดจนกฎเกณฑ์พื้นฐานต่าง ๆ และจากหลักมูลฐานและกฎเกณฑ์พื้นฐานดังกล่าว นักปราชญ์ทางศาสนาก็ได้วิเคราะห์หลักการที่มีรายละเอียดซึ่งจะกลายเป็น ประมวลหลักนิติธรรมอิสลามในยุคต่อมาไม่ว่าจะเป็นรายละเอียดในการจัดระเบียบ ทางสังคม, เศรษฐกิจ, ระบอบรัฐศาสตร์ หลักการในการประกอบศาสนกิจและการมีปฏิสัมพันธ์ในรูปธุรกรรมต่าง ๆ

และในช่วงแรกนี้ สามารถแบ่งเป็น 2 ระยะคือ

1) ระยะเวลาเกือบ 13 ปี ณ นครมักกะฮฺ ซึ่งชาวมุสลิมเป็นชนส่วนน้อยในนครมักกะฮฺ มีความอ่อนแอและถูกกดขี่ มุสลิมมิได้มีส่วนร่วมในการปกครองรัฐมักกะฮฺซึ่งมีชนชั้นปกครองที่เป็นพวก ตั้งภาคี เหตุนี้โองการต่าง ๆ ในคัมภีร์อัลกุรฺอานที่เรียกกันว่าโองการมักกียะฮฺตลอดจนบรรดาหะดีษของท่าน นบี (صلى الله عليه وسلم) จึงมิได้กล่าวถึงการจัดระเบียบการปกครองและหลักการที่ว่าด้วยธุรกรรมต่าง ๆ ยกเว้นเพียงเล็กน้อยเท่านั้น

หากแต่ได้เน้นในการอธิบายถึงหลักการยึดมั่นและหลักศรัทธาของศาสนาและเรียก ร้องเชิญชวนสู่การให้เอกภาพต่อพระองค์อัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) การขัดเกลาจิตใจและวิพากษ์ความเชื่อของพลเมืองมักกะฮฺที่ยึดติดกับการตั้ง ภาคีและขนบธรรมเนียมประเพณีที่มีบ่อเกิดจากอวิชชา ส่วนการประกอบศาสนกิจในระยะแรกที่มีบัญญัติเอาไว้ก็คือเรื่องการละหมาดเท่า นั้น


2) ระยะเวลาราว 10 ปีในนครม่าดีนะฮฺซึ่งเริ่มต้นภายหลังการอพยพ (ฮิจเราะฮฺ) ของท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) และเหล่าสาวกจากนครมักกะฮฺสู่นครมาดีนะฮฺ โดยชาวมุสลิมได้สถาปนารัฐอิสลามขึ้น ณ นครม่าดีนะฮฺและมีโครงสร้างของรัฐอันประกอบด้วยพลเมือง คือ ผู้อพยพที่เรียกว่า มุฮาญิรูนและชาวเมืองม่าดีนะฮฺที่เรียกว่า อันศ๊อร ตลอดจนชาวยิวและชนอาหรับกลุ่มอื่น ๆ มีดินแดนคือ นครม่าดีนะฮฺและเขตปริมณฑล และมีระบอบการปกครองทางรัฐศาสตร์และการเมือง ซึ่งอำนาจนิติบัญญัติ, อำนาจการบริหาร และอำนาจทางตุลาการรวมอยู่ในประมุขสูงสุดของรัฐ คือท่านนบีมุฮัมมัด (صلى الله عليه وسلم)

ทั้งนี้ท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) ได้มีพันธสัญญาที่เรียกว่า อัศศ่อฮีฟะฮฺ ซึ่งเป็นปฏิญญาที่พลเมืองของม่าดีนะฮฺยอมรับร่วมกันทุกฝ่ายโดยมีสถานะเฉก เช่น รัฐธรรมนูญ ตามคำนิยามของนักวิชาการร่วมสมัย ในระยะที่ 2 นี้เองประมวลกฎหมายอิสลามที่เป็นแม่บทในด้านต่าง ๆ ทั้งที่เกี่ยวกับการศาสนาและทางโลกได้ถูกกำหนดวางอย่างเป็นกิจจะลักษณะและมี ความครบถ้วนสมบูรณ์


(2) ช่วงเวลาแห่งการวางหลักมูลฐานของกฎหมายอิสลาม ซึ่งเริ่มต้นนับแต่การสิ้นชีวิตของท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) จนถึงการล่มสลายของอาณาจักรอัลอุม่าวียะฮฺ (ฮ.ศ.132/ค.ศ.750) ทางด้านการเมืองนั้นครอบคลุมยุคสมัยของบรรดาค่อลีฟะฮฺผู้ทรงธรรม (ฮ.ศ.11-41/ค.ศ.632-661) และยุคของอาณาจักรอัลอุม่าวียะฮฺ (ฮ.ศ.41-132/ค.ศ.661-750)

ส่วนทางด้านกฎหมายอิสลามนั้นรวมเอาสมัยของเหล่าสาวก, ชนรุ่นตาบิอีนและตาบิอิตตาบิอีนซึ่งเรียกรวม ๆ ว่ายุคสะลัฟ ซอลิฮฺ ในช่วงเวลาที่ 2 นี้มีการพัฒนาทางสังคม, เศรษฐกิจ, ความคิดและการเมืองที่ส่งผลต่อพัฒนาการของกฎหมายอิสลาม และมีการวิเคราะห์อย่างทุ่มเททางสติปัญญาที่เรียกว่า “อิจญ์ติฮาด” ปรากฏขึ้นอันนำไปสู่การปรากฏขึ้นของหลักฐานในการชี้ขาด 2 ประการ คือ อัล-อิจญ์มาอฺและอัล-กิยาส ตลอดจนระบอบการปกครองแบบคิลาฟะฮฺก็ปรากฏชัดในฐานะระบอบการปกครองทางรัฐ ศาสตร์อิสลามอีกด้วย


ส่วนหนึ่งจากพัฒนาการที่เด่นชัดในช่วงเวลานี้คือ

1. ศาสนาอิสลามแผ่ปกคลุมดินแดนของรัฐอิสลามที่มีอาณาเขตทางทิศตะวันออกจรด ประเทศจีน มหาสมุทรอินเดีย และเขตตอนกลางของแอฟริกาทางทิศใต้ จรดมหาสมุทรแอตแลนติกทางทิศตะวันตก และมีอาณาเขตทางตอนเหนือครอบคลุมทะเลสาบแคสเปียน, ทะเลดำ และหมู่เกาะในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนถึงภาคใต้ของฝรั่งเศสและคาบสมุทรไอบีเรีย (สเปน)

2. ภาษาอาหรับมีความแพร่หลายและกลายเป็นภาษาทางราชการและวิชาการในศาสตร์แขนงต่าง ๆ

3. มีความตื่นตัวในการแปลตำรับตำราจากภาษาอื่น ๆ เป็นภาษาอาหรับและมีการสร้างผลงานทางวิชาการในศาสตร์แขนงต่าง ๆ

4. บรรดาสาวกและชนรุ่นตาบิอีนได้กระจายไปตั้งหลักแหล่งในหัวเมืองต่าง ๆ ที่ถูกพิชิตนับแต่ยุคของค่อลีฟะฮฺ อุษมาน (ร.ฎ.) อันเป็นผลทำให้เกิดเมืองแห่งวิชาการตามมา อาทิเช่น เมืองกูฟะฮฺ, เมืองบัศเราะฮฺ, เมืองฟุสฏ็อฏ และนครแบกแดด เป็นต้น

5. เกิดกลุ่มสำนักทางความคิดหลากหลาย อาทิเช่น กลุ่มอัล-คอวาริจญ์, กลุ่มชีอะฮฺ, กลุ่มมุรญิอะฮฺและกลุ่มมุอฺตะซิละฮฺ เป็นต้น


(3) ช่วงของความสุกงอมและความสมบูรณ์ ซึ่งเริ่มต้นนับแต่การสถาปนาอาณาจักรอัลอับบาซียะฮฺ (ฮ.ศ.132/ค.ศ.750) และสิ้นสุดลงด้วยการปิดประตูแห่งการอิจญ์ติฮาดในตอนปลายศตวรรษที่ 4 แห่งฮิจเราะฮฺศักราช อันนับเป็นยุคทองของกฎหมายอิสลาม ในช่วงนี้มีการรวบรวมและจดบันทึกหะดีษของท่านนบี (صلى الله عليه وسلم) และกฎหมายอิสลาม ตลอดจนมีการปรากฏขึ้นของบรรดาสำนักกฎหมายอิสลามซึ่งเรียกว่า “มัซฮับ” อันได้แก่

1. มัซฮับฮะนะฟีย์ อ้างถึงอิหม่ามอบูฮะ นีฟะฮฺ อันนุอฺมาน อิบนุ ซาบิต (ฮ.ศ.70-150) ซึ่งเป็นสำนักกฎหมายอิสลามที่เปิดกว้างในด้านการใช้ทัศนะและหลักของเหตุผลใน การวิเคราะห์ตัวบททางศาสนา

2. มัซฮับมาลิกีย์ อ้างถึงอิหม่ามมาลิก อิบนุ อะนัส อิบนิ อบีอามิร (ฮ.ศ.95-179) ซึ่งเป็นนักปราชญ์แห่งนครม่าดีนะฮฺในแคว้นอัล-ฮิญาซฺและเป็นนักวิชาการสายหะ ดีษ

3. มัซฮับชาฟิอีย์ อ้างถึงอิหม่ามอบูอับดิลลาฮฺ มุฮัมมัด อิบนุ อิดรีส อัชชาฟิอีย์ (ฮ.ศ.150-204) มัซฮับชาฟิอีย์มีแนวทางสายกลางที่รอมชอมระหว่างการใช้ทัศนะและการยึดถือตัว บท

4. มัซฮับฮัมบะลีย์ อ้างถึง อิหม่ามอะฮฺหมัด อิบนุ ฮัมบัล อัชชัยบานีย์ (ฮ.ศ.164-241) เป็นสำนักกฎหมายอิสลามที่ยึดถือตัวบทอย่างเคร่งครัดและไม่ยอมรับการใช้ทัศนะ เหมือนอย่างมัซฮับฮะนะฟีย์

มัซฮับฮะนะฟีย์ เป็นที่นิยมแพร่หลายในกลุ่มประเทศที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอุษมานียะ ฮฺแห่งตุรกีตลอดจนกลุ่มประเทศมุสลิมในเอเชียกลางและเอเชียใต้ ส่วนมัซฮับมาลิกีย์นั้นเป็นที่นิยมในหมู่พลเมืองในแอฟริกา ทั้งแอฟริกาเหนือ แอฟริกาตะวันออกและตะวันตก ในขณะที่มัซฮับชาฟิอีย์ เป็นที่นิยมของพลเมืองมุสลิมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เยเมน และอียิปต์ เป็นต้น ส่วนมัซฮับฮัมบะลีย์นั้นถือเป็นมัซฮับอย่างเป็นทางการในประเทศซาอุดิอาระเบียและมีผู้นิยมน้อยที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับมัซฮับอื่น ๆ


(4) ช่วงของการถือตาม (อัต-ตักลีด) ซึ่ง เริ่มต้นนับแต่การปิดประตูแห่งการอิจญ์ติฮาด ในตอนปลายศตวรรษที่ 4 แห่งฮิจเราะฮฺศักราช และดำเนินเรื่อยมาจวบจนทุกวันนี้ ในด้านการเมือง โลกอิสลามในช่วงที่ 4 นี้แตกออกเป็นรัฐเล็กรัฐน้อย มีกลุ่มชาติพันธุ์มุสลิมที่มิใช่อาหรับเข้ามามีอำนาจผลัดเปลี่ยนกัน อาทิเช่น ชาวเติร์ก (ตุรกี), ชาวเปอร์เซีย (อิหร่าน) เป็นต้น

และเนื่องจากมุสลิมขาดความสามัคคีและเอกภาพทำให้ดินแดนของชาวมุสลิมตกอยู่ ใต้อาณัติของกลุ่มประเทศตะวันตกที่ล่าเมืองขึ้น โดยเฉพาะภายหลังการล่มสลายของอาณาจักรอุษมานียะฮฺ แห่งตุรกี ที่มีการประกาศยกเลิกระบอบการปกครองแบบคิลาฟะฮฺในปีค.ศ.1924

ผลจากการล่าเมืองขึ้นของกลุ่มประเทศตะวันตก กฎหมายอิสลามโดยส่วนใหญ่ได้ถูกยกเลิกและมีการนำกฎหมายตะวันตกเข้ามาใช้ทดแทน จวบจนในช่วงหลังมานี้ ได้มีการเรียกร้องให้กลุ่มประเทศมุสลิมที่ได้รับเอกราชจากกลุ่มประเทศตะวัน ตกเริ่มหันมาให้ความสำคัญในการฟื้นฟูกฎหมายอิสลามและนำเอากฎหมายอิสลามมา บังคับใช้อีกครั้ง ซึ่งกระแสการเรียกร้องดังกล่าวได้เริ่มขึ้นนับแต่ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา


ความสำคัญของกฎหมายอิสลาม

กฎหมายอิสลามมีอัล-กุรอานและอัล-หะดีษเป็นแม่บทที่สมบูรณ์ครบถ้วน และเป็นธรรมนูญในการดำเนินชีวิตของมุสลิม โดยประมวลกฎหมายอิสลามได้กำหนดภารกิจของมนุษย์ที่มีต่อพระองค์อัลลอฮฺ (سبحا نه وتعالي) หน้าที่ต่อตัวเองและหน้าที่ต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน และมีเป้าหมายในการพิทักษ์คุ้มครองสิ่งสำคัญ 5 ประการ คือ (1) ศาสนา (2) ชีวิต (3) สติปัญญา (4) เชื้อสายโลหิต และ (5) ทรัพย์สิน


หากเราพิจารณากฎหมายอิสลามอย่างกว้าง ๆ ในแง่ความสำคัญแล้วพอจะกล่าวได้ดังนี้ คือ

(1) กฎหมายอิสลามเป็นธรรมนูญแห่งชีวิตที่มุสลิมทุกคนจำต้องยึดถือปฏิบัติโดย เคร่งครัด ทั้งนี้การปฏิบัติตามกฎหมายอิสลามมีผลทำให้ปัจเจกบุคคลมีความเป็นปกติสุขและ ทำให้สังคมโดยรวมเกิดความสันติสุข

(2) กฎหมายอิสลามได้กำหนดสิทธิและหน้าที่ส่วนบุคคลและสิทธิประโยชน์ส่วนรวมเอา ไว้อย่างมีดุลยภาพและครบถ้วน ชัดเจน มีความเป็นธรรมและสมเหตุสมผล ยืดหยุ่นและเหมาะสมกับทุกยุคทุกสมัย

(3) กฎหมายอิสลามได้จัดระเบียบสังคมทุกระดับโดยเป็นไปตามครรลองที่ถูกต้องและ เป็นธรรมทั้งในด้านสังคม, เศรษฐกิจ, การเมือง และการปกครองและมุ่งพิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของทุกฝ่าย


อ.อาลี เสือสมิง